บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ขยายโรงงาน ต้องการเสาเข็มที่มีคุณภาพเพื่อป้องกันการทรุดตัวและได้มาตรฐาน!!

posted in: PILE DRIVING

ตอกเสาเข็มเพื่อสร้างใหม่ หรือขยายโรงงาน ต้องการเสาเข็มที่มีความมั่นคงสูงแะลรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย แนะนำใช้เสาเข็ม Spun Micropile ที่ได้มาตรฐาน มอก.397-2562 โดยภูมิสยามค่ะ!!

ต่อเติมโรงงาน ขยายโรงงาน มั่นใจใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้โดยภูมิสยาม เสาเข็มสปัน มอก. 397-2562 เป็นเสาเข็มที่มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อทำให้มีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีแบบธรรมดา สามารถรองรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ได้มาตรฐานตามหลักวิศวะกรรม ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธีDynamic Load Test และยังได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และชีวะอนามัยด้านความปลอดภัย ISO 45001:2018micro-pile micro-pile micro-pileภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile เจ้าแรกที่ได้รับมาตรฐาน มอก. 397-2562 (พัฒนาจาก มอก. เดิม 397-2524) และไอไมโครไพล์ I Micropile มาตรฐาน มอก. 396-2549 กระบวนการผลิตและการตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018 เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยาม ช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่อเติมหรือสร้างใหม่ สะดวกสะอาดรวดเร็วค่ะ เสาเข็มผลิตด้วยเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน

✔️ เสาเข็มสปัน มอก. 397-2562
✔️ เสาเข็ม I มอก. 396-2549
✔️ รับประกัน 7 ปี! (เสาเข็มสปัน)
✔️ รับประกัน 3 ปี! (เสาเข็ม I)
✔️ ออกแบบฐานรากฟรี
✔️ รายการคำนวณฟรี
✔️ สำรวจหน้างานฟรี
✔️ การตอก ISO 9001:2015
✔️ การตอก ISO 45001:2018
✔️ SCG Endorsed Brand
✔️ สะสม Point แลกรับรางวัล
✔️ MICROPILE TRAINING CENTER ศูนย์ฝึกอบรมอาชีพ การตอกเสาเข็มไมโครไพล์
✔️ ประกันความเสียหายระหว่างตอกโดยกรุงเทพประกันภัย
*เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด

☎️ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
091-895-4269

📲 ไลน์ภูมิสยาม:
1) LINE ID: bsp15
2) LINE ID: bsp829
3) LINE ID: 0827901447
4) LINE ID: 0827901448
5) LINE ID: 0918954269
LINE OA: @bhumisiam

🌎 เว็บไซต์:
www.micro-pile.com
www.spun-micropile.com
www.bhumisiammicropile.com
www.bhumisiam.com
www.microspunpile.com
🔘 Products

🔶 รายการเสาเข็มและการรับน้ำหนัก:
⬆️เสาเข็มไอ ไมโครไพล์
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
⏹เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
⏺เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น
*การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่

#เสาเข็ม
#ตอกเสาเข็ม
#ไมโครไพล์
#สปันไมโครไพล์
#เสาเข็มไมโครไพล์
#เสาเข็มสปันไมโครไพล์
#micropile
#spunmicropile
#piledriving
#microspun

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม – ระบบโครงสร้างฐานรากรับรั้วที่มีเสถียรภาพทางด้านข้างต่ำ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ
วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ

โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า แต่เดิมนั้นเจ้าของมีความต้องการที่จะก่อสร้างเจ้าโครงสร้างนี้เพื่อให้คอยทำหน้าที่ในการรับแรงในแนวดิ่งจากรั้วเพียงอย่างเดียวเท่านั้น เจ้าของจึงได้เลือกทำการก่อสร้างให้ระบบโครงสร้างฐานรากนั้นเป็นระบบโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มเพียงต้นเดียว ซึ่งไม่ใช่ระบบโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มมากกว่าหนึ่งต้นขึ้นไปซึ่งจะทำให้ระบบโครงสร้างนั้นมีเสถียรภาพของการรับแรงกระทำทางด้านข้างที่สูงกว่าระบบแรก ต่อมาก็ปรากฏว่า ได้เกิดแรงในแนวราบเพิ่มเติมขึ้นมาในภายหลังซึ่งแน่นอนว่าแรงประเภทนี้มักถูกมองข้ามไปหรืออาจจะไม่ได้ถูกมองข้ามแต่ก็อาจจะเกิดจากความประมาทของเจ้าของหรือผู้ทำการก่อสร้างเอง หรือ อาจจะถูกประเมินและคาดคะเนผลของการเลือกใช้ระบบโครงสร้างดังกล่าวเอาไว้ค่อนข้างที่จะต่ำมากจนเกินไป เช่น เกิดแรงกระทำจากดินที่ถูกนำมาถมเพิ่ม หรือ เกิดจากแรงกระทำจากน้ำหนักบรรทุกจรที่วางอยู่บนดินถมอีกทีหนึ่ง เป็นต้นนะครับ

ซึ่งหากจะให้ผมนิยามระบบโครงสร้างของรั้วแบบนี้ ผมก็จะให้นิยามว่าเป็น “ระบบโครงสร้างฐานรากรับรั้วที่มีเสถียรภาพทางด้านข้างต่ำ” หรือ LOW LATERAL STABILITY WALL FOUNDATION STRUCTURE ซึ่งชื่อของเจ้าระบบโครงสร้างของรั้วแบบนี้ก็มีความชัดเจนอยู่แล้วว่ามันจะมีเสถียรภาพทางด้านข้างที่ค่อนข้างที่จะต่ำมากๆ เลย ซึ่งหากเจ้าของมีความต้องการที่จะแก้ไขหรือทำให้เจ้าโครงสร้างดังกล่าวนี้กลับมาตั้งอยู่ได้อยู่ในสภาพที่มีความสมบูรณ์และมีเสถียรภาพที่ดีเหมือนเดิม หากโชคดีสักหน่อยก็อาจจะไม่มีความจำเป็นที่จะต้องไปถึงขั้นทำการรื้อระบบโครงสร้างเดิมออกทั้งหมดแต่ก็คงจะต้องทำการแก้ไขและเสริมกำลังให้แก่ตัวโครงสร้างเดิมเสียใหม่ ซึ่งการแก้ไขดังกล่าวก็คงจะต้องเสียสตางค์อีกมากโข อีกทั้งคงจะต้องเหนื่อยกันอีกพักใหญ่เลยละครับ

สุดท้ายนี้ผมก็คงที่จะให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ เหมือนเดิมอีกสักครั้งหนึ่ง หลังจากที่ก่อนหน้านี้ตัวของผมเองก็เคยพูดอยู่บ่อยๆ และเป็นประจำอยู่แล้ว นั่นก็คือ หากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะหลีกเลี่ยงการพบเจอรูปแบบของการวิบัติเหมือนกันกับในรูปตัวอย่างเหล่านี้หรือไม่อยากที่จะต้องมาเสียสตางค์ในการแก้ไขโครงสร้างจำพวกนี้ซ้ำหลายๆ รอบ เวลาที่เพื่อนๆ จะทำการก่อสร้างโครงสร้างซึ่งจะต้องทำหน้าที่ในการรับแรงกระทำในแนวดิ่งเป็นหลักอยู่แล้วและก็ยังมีความเสี่ยงที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับแรงกระทำในแนวราบจากดินและน้ำหนักบรรทุกจรอีกด้วย เพื่อนๆ ก็ควรที่จะใช้เป็นระบบโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มมากกว่าหนึ่งต้นขึ้นไป เหตุผลก็สืบเนื่องมาจากการที่ระบบโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มมากกว่าหนึ่งต้นขึ้นไปนั้นจะมีเสถียรภาพต่อการต้านทานแรงกระทำจากทั้งในแนวดิ่งและแนวราบที่ดีกว่าระบบโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มเพียงต้นเดียวนั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์วันพฤหัสบดี
#ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก
#ตัวอย่างระบบโครงสร้างฐานรากรับรั้วที่มีเสถียรภาพทางด้านข้างต่ำ
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ

ที่หน้างานได้มีการตอกเสาเข็มซึ่งจะถูกใช้ในโครงสร้างฐานราก F2 ผลจากการตอกเสาเข็มต้นแรกพบว่าไม่เป็นไปตาม BLOW COUNT ที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ ทางหน้างานจึงสันนิษฐานว่าเสาเข้มต้นนี้เกิดการหักและได้ทำการแจ้งกลับไปยังผู้ออกแบบเพื่อให้รับทราบและขอให้ช่วยดำเนินการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้ โดยผมจะขอสมมติให้เพื่อนๆ นั้นเป็นผู้ออกแบบในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ก็แล้วกัน ซึ่งตอนที่เพื่อนๆ นั้นได้ทำการจำลองโครงสร้างฐานรากต้นนี้เพื่อนๆ ได้ทำการกำหนดให้โครงสร้างฐานรากต้นนี้มีสภาพเป็น จุดรองรับอย่างง่าย หรือ SIMPLY SUPPORT คำถามก็คือ ในฐานะของผู้ออกแบบเพื่อนๆ จะเลือกทำการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้อย่างไรดี จึงจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมากที่สุด รวมถึงสามารถที่จะก่อสร้างได้โดยง่ายและที่สำคัญก็คือมีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการแก้ไขฐานรากเมื่อจุดรองรับนั้นเป็นจุดรองรับอย่างง่าย
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นเรามาทำการคำนวณหาว่า ในฐานะของผู้ออกแบบเราจะเลือกทำการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้อย่างไรกันดี จึงจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมากที่สุด รวมถึงสามารถที่จะก่อสร้างได้โดยง่ายและที่สำคัญก็คือมีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างไปพร้อมๆ กันนะครับ

สิ่งสำคัญประการแรกที่เราควรที่จะต้องทำการพิจารณาก็คือ คุณลักษณะของจุดรองรับที่เราได้ใช้ในการทำการจำลองโครงสร้างฐานรากต้นนี้ในครั้งแรก หรือ BOUNDARY CONDITIONS ซึ่งเพื่อให้เป็นการดีและเกิดความง่ายดายมากที่สุดเราจึงควรที่จะคงไว้ซึ่งคุณลักษณะดังกล่าว สำหรับกรณีนี้จุดรองรับนี้มีสภาพเป็น จุดรองรับอย่างง่าย ซึ่งลักษณะของจุดรองรับแบบนี้ก็จะมีแรงหลักๆ 2 แรงด้วยกันนั่นก็คือ แรงในแนวตั้งฉาก หรือ VERTICAL LOAD และ แรงในแนวราบ หรือ HORIZONTAL LOAD ซึ่งลักษณะของแรงทั้งสองนี้จะไม่ได้มีความต้องการระยะแขนของแรงที่เกิดขึ้นระหว่างโครงสร้างเสาเข็มเข้ามาช่วยในการรับน้ำหนักรอบๆ แกนของโครงสร้างฐานรากเลย ดังนั้นวิธีการที่เพื่อนๆ อาจจะเลือกใช้งานก็คือ การหมุนโครงสร้างฐานรากรอบตัวของโครงสร้าง ซึ่งเราก็จะเห็นได้ว่าการทำเช่นนี้ต่อให้จะมีการเพิ่มหรือลดแขนของแรง มันก็จะไม่ส่งผลใดๆ ต่อการรับแรงของโครงสร้างฐานรากเลยนะครับ

สรุปคำตอบสำหรับวิธีการที่เพื่อนๆ อาจจะเลือกใช้งานเพื่อให้เกิดประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมากที่สุด รวมถึงสามารถที่จะก่อสร้างได้โดยง่ายและที่สำคัญก็คือยังมีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างอีกด้วยก็คือ การหมุนฐานรากรอบตัวของโครงสร้างนั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการแก้ไขฐานรากเมื่อจุดรองรับนั้นเป็นจุดรองรับอย่างง่าย
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ภูมิสยามฯ ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ผุดโรงงาน – ข่าวผู้จัดการออนไลน์

posted in: Bhumisiam News
ข่าวประชาสัมพันธ์

ภูมิสยามฯ ทุ่มงบกว่า 100 ล้านบาท ผุดโรงงานผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) คุณภาพอันดับ 1 ในเมืองไทย ชูนวัตกรรมการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน

ภูมิสยามฯ ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอก เสาเข็มเพื่อการต่อเติมอาคารและที่อยู่อาศัย ด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์สำหรับงานต่อเติม และได้รับความนิยมในปัจจุบัน เพราะสามารถเข้าทำงานในพื้นที่แคบได้ และมีความต้องการเสาเข็มที่มีคุณภาพสูงเพื่อแก้ทุกปัญหาการต่อเติม

นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศไทยเยอรมัน เปิดเผยว่า บริษัทฯ เป็นผู้ให้บริการตอกเสาเข็มต่อเติมอาคารและที่อยู่อาศัยด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และผ่านการทดสอบความสามารถในการรับน้ำหนักอย่างปลอดภัย ด้วยวิธีการ Dynamic Load Test และเป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายทั้งหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน พร้อมพัฒนาปั่นจั่นขนาดเล็กเพื่อการติดตั้งในพื้นที่แคบได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเข้ามาเพื่อแก้ปัญหาการทรุดตัวของอาคารหรือตึก รวมถึงปัญหาโครงสร้างที่ต้องหยุดชะงักการต่อเติม หรือปล่อยร้างไป เพราะไม่อาจแก้ไขการทรุดตัวของโครงสร้างเดิมได้ ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่แคบเกินกว่าจะตอกเสาเข็มซ้ำได้ หรือการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงจากการตอกเสาเข็ม ที่อาจทำให้บ้านข้างๆ เกิดการทรุดตัว ฯลฯ ซึ่งทั้งหมดล้วนเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง

บริษัทจึงได้ทุ่มงบการลงทุนกว่า 100 ล้านบาท เพื่อเดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดยนำเข้านวัตกรรมเทคโนโลยีและเครื่องจักรจากต่างประเทศ การพัฒนาบุคลากรช่างให้มีมาตรฐานและพัฒนาคุณภาพเสาเข็ม อย่างต่อเนื่องจนได้รับมาตรฐาน มอก. ขนาดเสาเข็มเส้นผ่าศูนย์กลาง 21, 25, 30 เซนติเมตร เป็นรายแรกในประเทศ เพื่อเข้ามาปลดล็อคข้อจำกัดของปัญหาดังกล่าว

“เสาเข็ม สปันไมโครไพล์มีความยาวท่อนละ 1.5 เมตร สามารถนำมาต่อเชื่อมได้ และปั้นจั่นขนาดเล็ก มีความสูงไม่เกิน 3 เมตร สามารถเข้าไปทำการติดตั้งในพื้นที่แคบได้อย่างมีคุณภาพ เหมาะกับการต่อเติมบ้าน แก้ไขปัญหาอาคารทรุด ปรับปรุงโรงงาน ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง สามารถตอกเสาเข็มชิดกำแพงหรือผนังบ้านได้ เพราะไม่ทำให้โครงสร้างเดิมแตกร้าว และสั่นสะเทือนขณะที่ตอกเสา มีความแข็งแรงทนทาน ตอกได้ลึกตามจริง ตั้งแต่ 1 เมตรจนถึงชั้นดินดาน โดยสามารถรับน้ำหนักตามที่วิศวกรออกแบบอย่างปลอดภัยได้ถึง 20-50 ตันต่อต้น การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับ สภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่ ควบคุมการทำงานด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ซึ่งภูมิสยามฯ เป็นผู้ผลิตรายแรกในเมืองไทย” นายรัฐโรจน์ กล่าว

สำหรับเสาเข็มสปันไมโครไพล์ คือเสาเข็มที่ผ่านการ กรอ หมุน ปั่น เหวี่ยง ภายใต้แบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยการเหวี่ยงความเร็วสูง จะสามารถเนรมิตคอนกรีตเหลวๆ ให้กลายเป็นท่อนเสาเข็มที่อัดแน่นได้มาตรฐานภายในเวลา 10 นาที จึงมั่นใจในสินค้าและมาตรฐานความปลอดภัย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังใช้เมนต์เอสซีจี และได้รับความไว้วางใจให้เป็น Endorsed Brand ของบริษัทเอสซีจี หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด และยังเป็นโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว หรือ Green Industry ที่ยึดมั่นในการประกอบกิจการอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์

ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้
1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต
– วัสดุมวลรวม ได้แก่ หิน ทราย แร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ รูปร่างลักษณะของผิวและส่วนคละของวัสดุมวลรวมมีผลต่อการออกแบบส่วนผสม สัมประสิทธิ์การนำความร้อน DRYING SHRINKAGE, STIFFNESS, CREEP และ ความแข็งแรงของคอนกรีต เช่น หินและทรายที่มีดินเหนียวปนอยู่ด้วย จะหดตัวมากกว่าปูนซีเมนต์จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวได้ง่าย เป็นต้น
– ปูนซีเมนต์ โดยทั่วไปคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์มากหรือเป็นปูนซีเมนต์ที่มีปริมาณซิลิก้าสูงหรือมีความละเอียดสูง เช่น ปอร์ตแลนด์ ประเภท 3 ก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการแตกร้าวได้มาก เป็นต้น
– น้ำ เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการผสมคอนกรีตเพราะถ้าใช้น้ำในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น ก็มีแนวโน้มที่จะเกิดการแตกร้าวได้มาก และ ยังทำให้กำลังอัดของคอนกรีตลดต่ำลงด้วย
– น้ำยาผสมคอนกรีต น้ำยาบางชนิดอาจมีผลทำให้เกิดการแตกร้าวได้ เช่น น้ำยาเร่งการแข็งตัว แต่น้ำยาบางชนิด ก็ช่วยลดการแตกร้าวได้ เช่น น้ำยาหน่วงการก่อตัว เป็นต้น

2) การเทคอนกรีต (PLACING)
อัตราการเท และ สภาพการทำงานมีผลต่อการแตกร้าวอย่างแน่นอน ซึ่งมักเป็นผลมาจากการเยิ้มของคอนกรีต (BLEEDING) น้ำที่ไหลเยิ้มขึ้นมาที่ส่วนบนของคอนกรีต จะทำให้เกิดช่องว่างใต้หิน โดยเฉพาะ ส่วนที่อยู่ลึกๆ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการแตกร้าวภายในได้รวมทั้งการแยกตัวของคอนกรีต อุณหภูมิภายนอก การทรุดตัวไม่เท่ากันของพื้นด้านล่าง หรือ ส่วนที่เป็นแบบรองรับคอนกรีต ก็สามารถทำให้เกิดการแตกร้าวได้เช่นกัน

3) สภาพการทำงาน นับเป็นปัจจัยภายนอกที่เข้ามาเกี่ยวข้องในขณะทำงานได้
– อุณหภูมิ (TEMPERATURE) ปกติอัตราการรับกำลังได้ของคอนกรีตจะแปรตามอุณหภูมิ อย่างไรก็ตามอิทธิพลที่สำคัญของอุณหภูมิที่มีต่อคอนกรีต คือ เมื่อคอนกรีตเย็นตัวลง จะหดตัว โดยเฉพาะงานคอนกรีตในอากาศร้อน และ งานคอนกรีตปริมาณมากๆ (MASS CONCRETE) ดังนั้นพื้นคอนกรีตที่หล่อขณะอากาศเย็นจะเกิดการแตกร้าวน้อยกว่าหล่อขณะอากาศร้อน ลักษณะเช่นนี้จะเกิดกับงานคอนกรีตสำหรับโครงสร้างอื่นๆ ด้วย เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหานี้ การเทคอนกรีตในปริมาณมากๆ จึงมักทำการเทในเวลากลางคืนที่มีอากาศเย็นกว่า
– การสัมผัสกับสภาพรอบข้าง (EXPOSURE) ลักษณะอากาศที่คอนกรีตสัมผัสมีอิทธิพลอย่างมากต่อการแตกร้าวของคอนกรีต อุณภูมิและความชืื้นที่แตกต่างกันมากในช่วงวัน เป็นผลทำให้เกิดการรั้งภายในของคอนกรีตอย่างมาก (INTERNAL RESTRAINT) เพราะการยืดหดตัวของผิว และ ส่วนที่อยุ่ภายในจะไม่เท่ากันทำให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวได้

4) การบ่มคอนกรีต (CURING)
ความชื้นในคอนกรีตเป็นสิ่งสำคัญมาก ไม่ว่าก่อนหรือหลังการบ่ม สำหรับงานพื้นถ้าคอนกรีตแห้งเร็วเกินไป อัตราการระเหยของน้ำที่ผิวหน้าคอนกรีตอาจจะเร็วกว่าอัตราการเยิ้ม (BLEEDING) เมื่อเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น ผิวหน้าของคอนกรีตจะเกิดการหดตัว ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้น การป้องกันสามารถทำได้โดยทำให้แบบหล่อซุ่มน้ำหลกเลี่ยงการเทคอนกรีตในข่วงทีทมีอุณภูมิสูง บ่มคอนกรีตในทันทีที่ทำได้ พยายามป้องกันลมและแสงแดดขณะเทคอนกรีตเพื่อไม่ให้น้ำในคอนกีตระเหยเร็วเกินไป

5) การยึดรั้งตัว (RESTRAINT)
คอนกรีตที่ถูกยึดรั้งไว้จะไม่สามารถเคลื่อนตัวได้ไม่ว่าจะเป็นการยึดรั้งจากฐานรากหรือโครงสร้างใกล้เคียง จะทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นได้ การเกิดรอยแตกในแนวดิ่งที่ฐานกำแพงของอาคารถือเป็นเรื่องปกติ ถ้ารอยแตกนั้นไม่ขยายต่อถึงด้านบน ดังนั้นจึงมักพบว่า กำแพงหรือพื้นยาว ที่ไม่มีการตัด JOINT มักจะเกิดรอยแตกขึ้นเป็นช่วงๆ ส่วนกำแพงที่หล่อติดเป็นชิ้นเดียวกันกับโครงสร้าง มีโอกาสที่จะแตกร้าวทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ การยึดรั้งก็มักจะเกิดขึ้นเมื่อมีการทรุดไม่เท่ากันของโครงสร้าง

โดยทั้วไป คอนกรีตที่ถูกยึดรั้งไม่ให้หดตัวสูงจะเกิดรอยแตกขึ้นมา แต่รอยแตกเหล่านี้จะมีลักษณะเป็นรอยแคบๆ การเสริมกำแพงหรือพื้นด้วยเหล็กปริมาณมากๆ ทำให้เกิดรอยแตกราวลักษณะนี้มากกว่าการเสริมเหล็กในปริมาณที่น้อยกว่า หรือ ที่มักเรียกว่าเหล็กเสริมต้านทานอุณหภูมิ (TEMPERATURE REINFORCEMENT) แต่เมื่อรวมความกว้างของรอยแตกแล้วทั้ง 2 กรณี จะมีความกว้างเท่าๆ กัน ทำนองเดียวกัน เหล็กที่รับแรงดึงสูง (HIGH YIELD POINT STEEL) จะทำให้เกิดรอยแตกกระจายอยู่ทั่วไปมากกว่าเหล็กก่อสร้างทั่วไป (STRUCTURAL GRADE STEEL) รอยแตกแคบๆ มักไม่ก่อให้เกิด ปัญหาเพราะสังเกตได้ยากและฝนมีโอกาศซึมผ่านได้ค่อนข้างน้อย

คอนกรีตที่เกิดการยึดรั้งภายในอาจเกิดขึ้นได้ถ้าเป็นโครงสร้างเดียวกัน แต่ใช้คอนกรีตที่มีส่วนผสมต่างกันเช่นใช้ปูนซีเมนต์ไม่เท่ากัน หรือ มีสัดส่วนของหินและทรายที่ต่างกัน

จากที่กล่าวมาแล้วทั้งหมด จะเห็นได้ว่าสาเหตุการแตกร้าวของคอนกรีตนั้นมีมากมายซึ่งมักจะไม่ได้เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงอย่างเดียวแต่มักจะเกิดได้จากหลายๆ สาเหตุพร้อมกัน

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

#ไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #Micropile

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ต่อเติมโรงงานได้หรือไม่? ภูมิสยามมีคำตอบ!!

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ต่อเติมโรงงานได้หรือไม่? ภูมิสยามมีคำตอบ!!

สาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่ง

จึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม เสริมฐานราก รวมถึงงานต่อเติมเพื่อขยายโรงงาน ที่ต้องการความมั่นคงแข็งแรงสูง และเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใชั้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง

และทำการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับ LAST 10 BLOW COUNT เป็นการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ โดยการใช้ไม้ยาวๆ มาวางทาบเสาเข็มไว้จากผิวดินแล้วขีดเส้นยาว 1 เส้นต่อการลงลูกตุ้ม 10 ครั้ง เพื่อจะสามารถเช็คได้ว่าเสาเข็มลงลึกเท่าไหร่ ถ้าหากว่าเส้นที่ขีดไว้อยู่ติดกันมากจนแทบจะเป็นเส้นเดียวกัน ถือว่าเสาเข็มลงลึกจนถึงชั้นดินแข็งแล้ว ห้ามตอกต่อเพราะจะทำให้เสาเข็มเสียหายได้

จากนั้นทำการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (Dynamic Load Test) เป็นการทดสอบเพื่อประเมินการรับน้ำหนักของเสาเข็มที่ยอมรับกันทั่วไป และมีมาตรฐานรองรับ

เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549

สนใจเสาเข็มปรึกษา ภูมิสยาม เราพร้อมบริการทั่วประเทศ

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ถามตอบชวนสนุก – การทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ


ในรูปทั้งสองที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงผลที่ได้จากการทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST จากในสถานที่ก่อสร้างจริงแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานครฯ หากทางเจ้าของโครงการนั้นมีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างพื้นเพื่อที่จะใช้เป็นที่จอดรถแบบถาวรของโรงงานของเค้าโดยที่ข้อกำหนดที่ได้รับมาก็คือ โครงสร้างพื้นนี้ไม่ควรที่จะเกิดการทรุดตัวที่มากจนเกินไปเพราะเมื่อเวลาผ่านไปทางเจ้าของโครงการไม่ต้องการที่จะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมหรือดูแลรักษาโครงสร้างพื้นนี้เท่าใดนัก ซึ่งในสถานที่ก่อสร้างแห่งนี้ดินจะมีลักษณะของการรับน้ำหนักทั่วๆ ไปเท่านั้นและจะไม่เกิดกรณีของดินที่มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ ด้วยน่ะครับ
ดังนั้นคำถามง่ายๆ ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ เพื่อนๆ จะทำการกำหนดให้โครงสร้างพื้นนี้เป็น พื้นวางบนดิน หรือ SLAB ON GRADE ที่วางตัวอยู่บนดินโดยตรงหรือเป็น พื้นวางบนโครงสร้าง หรือ SLAB ON STRUCTURE ที่วางตัวอยู่บนโครงสร้างเสาเข็มดีครับ ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการพิจารณาเรื่องดินว่ามีโอกาสจะเกิดการทรุดตัวหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN 


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นเรามาทำการคำนวณหาว่า ในฐานะของผู้ออกแบบเราจะเลือกทำการออกแบบแก้ไขฐานรากต้นนี้อย่างไรกันดี จึงจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างมากที่สุด รวมถึงสามารถที่จะก่อสร้างได้โดยง่ายและที่สำคัญก็คือมีความถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้จากโพสต์ของผมเมื่อวันพฤหัสบดีกันสักเล็กน้อยนั่นก็คือ ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า หากดินในสถานที่ก่อสร้างของเรานั้นมีลักษณะของการรับน้ำหนักแบบทั่วๆ ไปเท่านั้นและจะไม่เกิดกรณีของดินที่มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ เราจะสามารถประมาณการออกมาได้ว่า ดินของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดโดยทำการประเมินได้จากผลการทดสอบดินโดยจะสามารถทำการพิจารณาได้จาก
(1) ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน หรือ WATER CONTENT
(2) ค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำ หรือ UNDRAINED SHEAR STRENGTH

เรามาเริ่มต้นกันที่ค่าอัตราส่วนของน้ำในดินกันก่อน ทั้งนี้หลักการในการพิจารณาจากค่าๆ นี้จะทำได้ค่อนข้างง่ายเลยนั่นก็คือ ทำการพิจารณาว่าค่าเฉลี่ยของ ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน ของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 ใช่หรือไม่ หากว่าคำตอบคือ ใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อย่างรวดเร็วและก็มากด้วยแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 80 แต่ก็ยังมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อยู่แต่ก็จะค่อยๆ เกิดแบบช้าๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป สุดท้ายหากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวที่น้อยมากๆ เลยละครับ

นอกจากจะทำการพิจารณาถึง ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน แล้วเพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย โดยเรามาทบทวนกันกับส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกันกับค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำที่เราอาจจะเรียกแทนว่าค่า Su ก็ได้ ทั้งนี้หากจะทำการสรุปหลักการง่ายๆ ที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินว่าดินในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งนั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดก็คือ ทำการตรวจสอบจากผลการทดสอบดินของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อนมาก หรือ VERY SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.25 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม หรืออาจจะดีขึ้นมาหน่อยก็คือค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อน หรือ SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นจะมีค่าที่มากกว่า 1.25 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 2.50 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5.00 ตัน/ตร.ม ใช่หรือไม่ หากว่าใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้มากแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวปานกลาง หรือ MEDIUM CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นมีค่าที่มากกว่า 2.5 ตัน/ตร.ม ขึ้นไป ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 5.00 ตัน/ตร.ม แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวที่ค่อนข้างจะน้อยนั่นเองครับ

ดังนั้นหากเราจะเริ่มต้นทำการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดินของชั้นดินที่แสดงอยู่ในแผนภูมิการทดสอบดินในรูปตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณร้อยละ
Wn = ( 84 + 81 + 57 + 59 +82 ) / 5
Wn = 72.6

ซึ่งค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเท่ากับร้อยละ 72.6 นั้นถือได้ว่ามีความเข้าใกล้เกณฑ์ของค่าอัตราส่วนของน้ำในดินร้อยละ 80 ที่ผมได้อธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้มากๆ เลย ดังนั้นสำหรับการพิจารณาค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเราอาจจะสามารถสรุปได้เลยว่า ดินบริเวณนี้จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อย่างรวดเร็วและก็มากด้วย แต่ สักครู่นะ อย่างที่ผมได้เรียนไปว่า เพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีก เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย ดังนั้นเมื่อเราทำการพิจารณาจากค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินที่แสดงอยู่ในแผนภูมิการทดสอบดินในรูปตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 0.84 + 0.81 + 1.73 + 1.71 + 0.83 ) / 5
Su = 1.18 T/M^(2)

ซึ่งเมื่อพิจารณาจากค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินแล้วก็จะพบว่า หากค่า Su ของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.25 ตัน/ตร.ม แสดงว่า ดินนั้นๆ จะมีสภาพเป็น ดินเหนียวอ่อนมาก หรือ VERY SOFT CLAY และนั่นก็หมายความว่า ดินในโครงการก่อสร้างของเราก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้สูงมากๆ เลยนะครับ
จะเห็นได้ว่าผลสรุปที่ออกมาจากการพิจารณาค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินดังกล่าวก็จะออกมามีความสอดคล้องกันกับการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดินและผลจากตารางแสดงลักษณะของชั้นดินเช่นเดียวกันเลย ดังนั้นเราก็สามารถที่จะสรุปได้เลยว่า ไม่ควรที่กำหนดให้โครงสร้างพื้นๆ นี้ให้เป็น พื้นวางบนดินที่วางตัวอยู่บนดินโดยตรงแต่ควรที่จะก่อสร้างเป็น พื้นวางบนโครงสร้าง ที่วางตัวอยู่บนโครงสร้างเสาเข็มนั่นเองนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการพิจารณาเรื่องดินว่ามีโอกาสจะเกิดการทรุดตัวหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ภูมิสยามฯ เข้าร่วมโครงการโรงงานสีขาว ของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน – ข่าวเดลินิวส์

posted in: Bhumisiam News
ภูมิสยามฯ ภูมิสยามฯ เข้าร่วมโครงการโรงงานสีขาว

นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ (กลาง) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เทคโนโลยีการผลิตจากประเทศเยอรมัน ให้การต้อนรับนางจิราพร ตีวกุล (ที่ 2 จากขวา) นักวิชาการแรงงานชำนาญการ สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดปทุมธานี พร้อมทีมงาน ในโอกาสเข้าตรวจประเมินตามหลักเกณฑ์โรงงานสีขาวเบื้องต้น เพื่อจัดทำระบบการจัดการป้องกันยาเสพติดในสถานประกอบการ ตามโครงการ “โรงงานสีขาว” ของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ณ บริษัทภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ลำลูกกา ปทุมธานี

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์

ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม โดยที่รูปที่ผมได้ใช้ในการโพสต์นั้นเป็นรูปของโครงสร้างคาน คสล ที่มีโครงสร้างพื้น คสล ติดตั้งอยู่ที่ด้านข้าง ซึ่งอาจจะทำให้แลดูแล้วมีความละม้ายคล้ายคลึงกับโครงสร้างคานรูปตัวทีหรือว่า REINFORCED CONCRETE T-BEAM ซึ่งก็ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้คอมเมนต์สอบถามผมเข้ามาในทำนองว่า หากเราจะทำการออกแบบโครงสร้างที่ผมแสดงนั้นโดยใช้หลักการของโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีจะดีกว่าหรือไม่?


ซึ่งผมก็ได้ตอบแฟนเพจท่านนี้ไปว่า การที่เพื่อนท่านนี้กล่าวเช่นนี้แสดงว่าเค้าอาจจะยังไม่เข้าใจหลักการของการออกแบบโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีอย่างแท้จริงแต่ไม่เป็นไร วันนี้ผมจะขออนุญาตใช้พื้นที่ตรงนี้ในการอธิบายว่าเพราะเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้นนะครับ

หากเพื่อนๆ ดูจากในรูปจะเห็นได้ว่า ปริมาณของเหล็กเสริมในแนวนอน ซึ่งก็คือเหล็กเสริมหลักในโครงสร้างคาน คสล นี้จะมีอยู่ด้วยกันทั้งที่ผิวบนและก็ผิวล่าง ซึ่งเหล็กเสริมที่ผิวด้านบนนั้นจะมีปริมาณของเหล็กเสริมที่มากกว่าเหล็กเสริมที่ผิวด้านล่างค่อนข้างที่จะมากเลยนะครับ

นั่นแสดงถึงอะไรครับ?
ถูกต้องแล้ว นั่นแสดงให้เห็นว่า โครงสร้างคาน คสล ของผมนั้นจะต้องทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัด “แบบลบ” มากกว่าที่จะทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัด “แบบบวก” เนื่องด้วยค่าโมเมนต์ดัดแบบลบนั้นจะทำให้ที่ผิว “ด้านล่าง” นั้นเกิด “แรงเค้นอัด” ซึ่งคอนกรีตจะทำหน้าที่ในการต้านทานเป็นหลัก ส่วนที่ผิว “ด้านบน” นั้นจะเกิดเป็น “แรงเค้นดึง” ซึ่งเหล็กเสริมก็จะทำหน้าที่ในการต้านทานแรงดังกล่าวนี้เป็นหลัก ในขณะที่ค่าแรงโมเมนต์ดัดแบบบวกที่โครงสร้างคาน คสล นี้จะต้องรับนั้นไม่ใช่แรงหลัก ซึ่งจะเห็นได้จากปริมาณของเหล็กเสริมที่อยู่ด้านล่างจะมีปริมาณที่น้อยกว่าทางด้านบนค่อนข้างที่จะมากเลยน่ะครับ

ดังนั้นหากสถานการณ์นั้นออกมาตรงกันข้ามนั่นก็คือ โครงสร้างคาน คสล ของผมนั้นจะต้องทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกมากกว่าที่จะทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัดแบบลบ เมื่อนั้นผมจึงจะเลือกทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล โดยใช้หลักการของโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีเนื่องด้วยการออกแบบดังกล่าวนั้นจะเป็นการออกแบบที่มีความคุ้มค่า มีความประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงที่สุดเพราะนั่นเท่ากับว่า เราอาศัยวัสดุคอนกรีตที่ใช้ในการทำการก่อสร้างโครงสร้างพื้น คสล ที่อยู่ด้านบนในการมาช่วยรับแรงเค้นอัดที่เกิดขึ้นจากค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกนั่นเองครับ

ผมหวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

1 2 3 4 16