บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” วิธีเบื้องต้นในการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

เนื่องจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมาผมมีโอกาสเดินทางไปตรวจการทำงานก่อสร้างที่หน้างานและบังเอิญไปพบเจอกับปัญหาๆ หนึ่งที่วิศวกรโครงการได้นำเอามาปรึกษากับผม เรื่องนี้ก็คือ จะแก้ปัญหาอย่างไรดีหากว่าค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ทำการทดสอบได้นั้นออกมามีค่าต่ำกว่าที่เราได้ทำการออกแบบเอาไว้ ซึ่งผมก็ได้ให้คำแนะนำในเบื้องต้นกับวิศวกรท่านนี่ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วและคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ด้วยหากผมนำเอาประเด็นๆ นี้มาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ในวันนี้ด้วยนะครับ


ก่อนอื่นเลยผมต้องบอกกับเพื่อนๆ ไว้ก่อนว่า หากเราบังเอิญต้องไปพบเจอกับเหตุการณ์การที่ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ทำการทดสอบได้นั้นออกมามีค่าต่ำกว่าที่เราได้ทำการออกแบบเอาไว้ก็อย่าเพิ่งตกอกตกใจอะไรไปเพราะจริงๆ แล้วมันมีความน่าจะเป็นที่จะเกิดเหตุการณ์เช่นนี้ขึ้นได้ ดังนั้นสิ่งที่เราควรทำคือ ในทุกๆ ครั้งหลังจากที่เราได้ดำเนินการในทุกๆ ขั้นตอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น ทำการตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากรถผสมคอนกรีตสำเร็จรูปว่าตรงตามรายละเอียดที่ได้แจ้งไปหรือไม่ ทำการตรวจสอบค่าการยุบตัวของคอนกรีตว่าเป็นไปตามที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้หรือไม่ เป็นต้น ก็ให้เพื่อนๆ ทำการเก็บตัวอย่างของคอนกรีตที่ได้ทำการเทดังกล่าวนี้เอาไว้ในปริมาณที่เพียงพอ อย่างน้อยก็ไม่ควรที่จะต่ำกว่า 3-5 ตัวอย่างต่อคอนกรีต 1 ชุด เพราะเราจะต้องนำเอาตัวอย่างเหล่านี้ไปทำการทดสอบหาค่ากำลังอัด ทั้งนี้หากพบว่าค่ากำลังอัดที่ทำการเฉลี่ยจากการทำการทดสอบ 3 ครั้งติดต่อกันนั้นมีค่าที่มากกว่าค่ากำลังอัดที่ได้ทำการกำหนดเอาไว้ ก็ถือได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและค่ากำลังอัดที่ทำการทดสอบได้ในแต่ละครั้งจะต้องให้ผลของกำลังอัดไม่ต่ำกว่าค่ากำลังอัดที่ได้รับการออกแบบเอาไว้เกิน 30 KSC เรามาดูตัวอย่างการประเมินสั้นๆ กันสัก 2 กรณีก็แล้วกันนะครับ

กรณีที่ 1 ค่ากำลังอัดที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้มีค่าเท่ากับ 280 KSC หากผมมีค่ากำลังอัดที่ได้จากการทำการทดสอบตัวอย่างคอนกรีตทั้งหมด 3 ค่า ซึ่งมีค่าดังต่อไปนี้นั่นก็คือ
ตัวอย่างที่ 1 มีค่ากำลังอัดเท่ากับ 275 KSC
ตัวอย่างที่ 2 มีค่ากำลังอัดเท่ากับ 298 KSC
ตัวอย่างที่ 3 มีค่ากำลังอัดเท่ากับ 271 KSC

ซึ่งจะทำให้ค่ากำลังอัดเฉลี่ยนั้นออกมามีค่าเท่ากับ 281 KSC ซึ่งมากกว่าค่ากำลังอัดที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้และถึงแม้ว่าค่ากำลังอัดจากตัวอย่างที่ 1 และ 3 จะมีค่าต่ำกว่าค่ากำลังอัดที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้แต่ก็ยังมีค่าไม่ต่ำกว่า 30 KSC ดังนั้นจึงถือว่าคอนกรีตดังกล่าวนี้ผ่านเกณฑ์ในการพิจารณานะครับ

กรณีที่ 2 ค่ากำลังอัดที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้มีค่าเท่ากับ 210 KSC หากผมมีค่ากำลังอัดที่ได้จากการทำการทดสอบตัวอย่างคอนกรีตทั้งหมด 3 ค่า ซึ่งมีค่าดังต่อไปนี้นั่นก็คือ
ตัวอย่างที่ 1 มีค่ากำลังอัดเท่ากับ 245 KSC
ตัวอย่างที่ 2 มีค่ากำลังอัดเท่ากับ 173 KSC
ตัวอย่างที่ 3 มีค่ากำลังอัดเท่ากับ 223 KSC

ซึ่งจะทำให้ค่ากำลังอัดเฉลี่ยนั้นออกมามีค่าเท่ากับ 214 KSC ซึ่งถึงแม้ว่าจะมากกว่าค่ากำลังอัดที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้แต่เป็นเพราะว่าค่ากำลังอัดจากตัวอย่างที่ 2 นั้นจะมีค่าต่ำกว่าค่ากำลังอัดที่ได้ทำการออกแบบเอาไว้เกิน 30 KSC ดังนั้นจึงถือว่าคอนกรีตดังกล่าวนี้ไม่ผ่านเกณฑ์ในการพิจารณานะครับ

ผมหวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#วิธีเบื้องต้นในการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีต
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการแตกร้าวในคอนกรีต

ปัจจัยต่างๆ ที่ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นในคอนกรีตสามารถอาจสามารถที่จะสรุปได้ดังนี้
1) วัตถุดิบและสัดส่วนการผสมคอนกรีต อัน ได้แก่ วัสดุมวลรวม ปูนซีเมนต์ น้ำ น้ำยาผสมคอนกรีต
– วัสดุมวลรวม ได้แก่ หิน ทราย แร่ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ รูปร่างลักษณะของผิวและส่วนคละของวัสดุมวลรวมมีผลต่อการออกแบบส่วนผสม สัมประสิทธิ์การนำความร้อน DRYING SHRINKAGE, STIFFNESS, CREEP และ ความแข็งแรงของคอนกรีต เช่น หินและทรายที่มีดินเหนียวปนอยู่ด้วย จะหดตัวมากกว่าปูนซีเมนต์จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวได้ง่าย เป็นต้น
– ปูนซีเมนต์ โดยทั่วไปคอนกรีตที่ใช้ปูนซีเมนต์มากหรือเป็นปูนซีเมนต์ที่มีปริมาณซิลิก้าสูงหรือมีความละเอียดสูง เช่น ปอร์ตแลนด์ ประเภท 3 ก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการแตกร้าวได้มาก เป็นต้น
– น้ำ เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการผสมคอนกรีตเพราะถ้าใช้น้ำในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น ก็มีแนวโน้มที่จะเกิดการแตกร้าวได้มาก และ ยังทำให้กำลังอัดของคอนกรีตลดต่ำลงด้วย
– น้ำยาผสมคอนกรีต น้ำยาบางชนิดอาจมีผลทำให้เกิดการแตกร้าวได้ เช่น น้ำยาเร่งการแข็งตัว แต่น้ำยาบางชนิด ก็ช่วยลดการแตกร้าวได้ เช่น น้ำยาหน่วงการก่อตัว เป็นต้น

2) การเทคอนกรีต (PLACING)
อัตราการเท และ สภาพการทำงานมีผลต่อการแตกร้าวอย่างแน่นอน ซึ่งมักเป็นผลมาจากการเยิ้มของคอนกรีต (BLEEDING) น้ำที่ไหลเยิ้มขึ้นมาที่ส่วนบนของคอนกรีต จะทำให้เกิดช่องว่างใต้หิน โดยเฉพาะ ส่วนที่อยู่ลึกๆ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการแตกร้าวภายในได้รวมทั้งการแยกตัวของคอนกรีต อุณหภูมิภายนอก การทรุดตัวไม่เท่ากันของพื้นด้านล่าง หรือ ส่วนที่เป็นแบบรองรับคอนกรีต ก็สามารถทำให้เกิดการแตกร้าวได้เช่นกัน

3) สภาพการทำงาน นับเป็นปัจจัยภายนอกที่เข้ามาเกี่ยวข้องในขณะทำงานได้
– อุณหภูมิ (TEMPERATURE) ปกติอัตราการรับกำลังได้ของคอนกรีตจะแปรตามอุณหภูมิ อย่างไรก็ตามอิทธิพลที่สำคัญของอุณหภูมิที่มีต่อคอนกรีต คือ เมื่อคอนกรีตเย็นตัวลง จะหดตัว โดยเฉพาะงานคอนกรีตในอากาศร้อน และ งานคอนกรีตปริมาณมากๆ (MASS CONCRETE) ดังนั้นพื้นคอนกรีตที่หล่อขณะอากาศเย็นจะเกิดการแตกร้าวน้อยกว่าหล่อขณะอากาศร้อน ลักษณะเช่นนี้จะเกิดกับงานคอนกรีตสำหรับโครงสร้างอื่นๆ ด้วย เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหานี้ การเทคอนกรีตในปริมาณมากๆ จึงมักทำการเทในเวลากลางคืนที่มีอากาศเย็นกว่า
– การสัมผัสกับสภาพรอบข้าง (EXPOSURE) ลักษณะอากาศที่คอนกรีตสัมผัสมีอิทธิพลอย่างมากต่อการแตกร้าวของคอนกรีต อุณภูมิและความชืื้นที่แตกต่างกันมากในช่วงวัน เป็นผลทำให้เกิดการรั้งภายในของคอนกรีตอย่างมาก (INTERNAL RESTRAINT) เพราะการยืดหดตัวของผิว และ ส่วนที่อยุ่ภายในจะไม่เท่ากันทำให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าวได้

4) การบ่มคอนกรีต (CURING)
ความชื้นในคอนกรีตเป็นสิ่งสำคัญมาก ไม่ว่าก่อนหรือหลังการบ่ม สำหรับงานพื้นถ้าคอนกรีตแห้งเร็วเกินไป อัตราการระเหยของน้ำที่ผิวหน้าคอนกรีตอาจจะเร็วกว่าอัตราการเยิ้ม (BLEEDING) เมื่อเหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น ผิวหน้าของคอนกรีตจะเกิดการหดตัว ทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้น การป้องกันสามารถทำได้โดยทำให้แบบหล่อซุ่มน้ำหลกเลี่ยงการเทคอนกรีตในข่วงทีทมีอุณภูมิสูง บ่มคอนกรีตในทันทีที่ทำได้ พยายามป้องกันลมและแสงแดดขณะเทคอนกรีตเพื่อไม่ให้น้ำในคอนกีตระเหยเร็วเกินไป

5) การยึดรั้งตัว (RESTRAINT)
คอนกรีตที่ถูกยึดรั้งไว้จะไม่สามารถเคลื่อนตัวได้ไม่ว่าจะเป็นการยึดรั้งจากฐานรากหรือโครงสร้างใกล้เคียง จะทำให้เกิดการแตกร้าวขึ้นได้ การเกิดรอยแตกในแนวดิ่งที่ฐานกำแพงของอาคารถือเป็นเรื่องปกติ ถ้ารอยแตกนั้นไม่ขยายต่อถึงด้านบน ดังนั้นจึงมักพบว่า กำแพงหรือพื้นยาว ที่ไม่มีการตัด JOINT มักจะเกิดรอยแตกขึ้นเป็นช่วงๆ ส่วนกำแพงที่หล่อติดเป็นชิ้นเดียวกันกับโครงสร้าง มีโอกาสที่จะแตกร้าวทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ การยึดรั้งก็มักจะเกิดขึ้นเมื่อมีการทรุดไม่เท่ากันของโครงสร้าง

โดยทั้วไป คอนกรีตที่ถูกยึดรั้งไม่ให้หดตัวสูงจะเกิดรอยแตกขึ้นมา แต่รอยแตกเหล่านี้จะมีลักษณะเป็นรอยแคบๆ การเสริมกำแพงหรือพื้นด้วยเหล็กปริมาณมากๆ ทำให้เกิดรอยแตกราวลักษณะนี้มากกว่าการเสริมเหล็กในปริมาณที่น้อยกว่า หรือ ที่มักเรียกว่าเหล็กเสริมต้านทานอุณหภูมิ (TEMPERATURE REINFORCEMENT) แต่เมื่อรวมความกว้างของรอยแตกแล้วทั้ง 2 กรณี จะมีความกว้างเท่าๆ กัน ทำนองเดียวกัน เหล็กที่รับแรงดึงสูง (HIGH YIELD POINT STEEL) จะทำให้เกิดรอยแตกกระจายอยู่ทั่วไปมากกว่าเหล็กก่อสร้างทั่วไป (STRUCTURAL GRADE STEEL) รอยแตกแคบๆ มักไม่ก่อให้เกิด ปัญหาเพราะสังเกตได้ยากและฝนมีโอกาศซึมผ่านได้ค่อนข้างน้อย

คอนกรีตที่เกิดการยึดรั้งภายในอาจเกิดขึ้นได้ถ้าเป็นโครงสร้างเดียวกัน แต่ใช้คอนกรีตที่มีส่วนผสมต่างกันเช่นใช้ปูนซีเมนต์ไม่เท่ากัน หรือ มีสัดส่วนของหินและทรายที่ต่างกัน

จากที่กล่าวมาแล้วทั้งหมด จะเห็นได้ว่าสาเหตุการแตกร้าวของคอนกรีตนั้นมีมากมายซึ่งมักจะไม่ได้เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่งเพียงอย่างเดียวแต่มักจะเกิดได้จากหลายๆ สาเหตุพร้อมกัน

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

#ไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #Micropile

ภูมิสยามฯ ภูมิใจ รับมาตรฐาน ISO 9001:2015 – ข่าวคมชัดลึก

posted in: Bhumisiam News

ภูมิสยามฯ ภูมิใจ รับมาตรฐาน ISO 9001:2015

ภูมิสยามฯ ภูมิใจ รับมาตรฐาน ISO 9001:2015

ทั้งระบบ UKAS และ NAC ที่ครอบคลุมทั้งการออกแบบ ผลิต และให้บริการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ด้วยเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงจากประเทศเยอรมนี

ภูมิสยาม ก้าวอีกขั้นตอกย้ำความมั่นใจด้านการผลิต และจัดจำหน่ายเป็นรายแรก และรายเดียวในประเทศ ภายใต้การรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO9001:2015 ทั้งระบบ UKAS และ NAC ที่ครอบคลุมทั้งการออกแบบ ผลิต และให้บริการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ ด้วยเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงจากประเทศเยอรมนี

นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด เปิดเผยว่า ภูมิสยามฯ เป็นผู้ผลิตและจัดจำหน่าย พร้อมบริการตอกเสาเข็มเพื่อการต่อเติมอาคารและที่อยู่อาศัย ด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ คือเสาเข็มที่ผ่านการ กรอ หมุน ปั่น เหวี่ยง ภายใต้แบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยการเหวี่ยงความเร็วสูง จะสามารถเนรมิตคอนกรีตเหลวๆ ให้กลายเป็นท่อนเสาเข็มที่อัดแน่นได้มาตรฐานภายในเวลา 10 นาที จึงมั่นใจในสินค้าและมาตรฐานความปลอดภัย นอกจากนี้ยังได้พัฒนาปั่นจั่นขนาดเล็กเพื่อเข้าติดตั้งในพื้นที่แคบๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมผ่านการทดสอบความสามารถในการรับน้ำหนักอย่างปลอดภัย ด้วยวิธีการ Dynamic Load Test จึงเป็นที่ยอมรับจากทั้งหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน

“นับเป็นเรื่องที่น่ายินดี และก้าวขึ้นไปอีกขั้นของภูมิสยามฯ ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001: 2015 ทั้งระบบ UKAS และ NAC ที่คลอบคลุมทั้งการออกแบบ และผลิต รวมถึงบริการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นรายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ถือเป็นเครื่องหมายการันตีถึงการบริหารที่มีคุณภาพ ลูกค้าจึงมั่นใจว่าจะได้รับการใส่ใจในงานบริการและส่งมอบงานตรงตามสเปคที่ต้องการได้อย่างดีเยี่ยม” นายรัฐโรจน์ กล่าว

นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได้รับมาตรฐาน มอก. ในขนาดเสาเข็มเส้นผ่าศูนย์กลาง 21, 25, 30 เซนติเมตร เป็นรายแรกในประเทศ และได้รับความไว้วางใจให้เป็นEndorsed Brand ของ SCG หรือ บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด และยังเป็นโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว หรือ Green Industry ที่ยึดมั่นในการประกอบกิจการอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์

ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

 

“เสาเข็ม” ฐานรากสำคัญของการก่อสร้าง เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม เลือกใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม

"เสาเข็ม" ฐานรากสำคัญของการก่อสร้าง เพื่อการรับน้ำหนักปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม เลือกใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม

ทุกการก่อสร้าง สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการตอกเสาเข็ม ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะส่งผลให้ฐานรากมีความมั่นคง รับน้ำหนักปลอดภัย

โดยหากเลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม จะได้รับคำแนะนำที่เหมาสมกับหน้างานโดยเฉพาะ จากวิศวกรผู้มีประสบการณ์ พร้อมด้วยทีมงานตอกมืออาชีพ อีกทั้งเสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถเพิ่มความยาวในการตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง ด้วยการนำเสาเข็มแต่ละท่อนมาต่อกัน และเชื่อมด้วยการเชื่อมแบบไฟฟ้า จากนั้นใช้ปั้นจั่นตอกเสาเข็มลงไปทีละท่อน จนได้ความลึกตาม BLOW COUNT (เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการประเมิน การรับน้ำหนักของเสาเข็ม ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้)

และเสาเข็มทุกต้นของภูมิสยาม มีการทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test เพื่อให้สามารถรองรับน้ำหนักของสิ่งปลูกสร้างได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และถูกต้องตามหลักวิศวกรรม

สร้างใหม่ ต้องใส่ใจในการเลือกใช้เสาเข็ม เพื่อความมั่นคงแข็งแรงของฐานราก เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม เรายินดีให้คำปรึกษา และพร้อมบริการทั่วประเทศ

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

#ไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #Micropile

การพิจารณาเรื่องดิน มีโอกาสเกิดการทรุดตัวเพิ่มเติมจากปัจจุบันหรือไม่?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ

ในรูปที่ 1 2 3 4 และ 5 ที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงผลที่ได้จากการทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST และรูปที่แสดงภาพของการที่พื้นนั้นเกิดการทรุดตัวรอบๆ ตัวอาคารที่ผมได้นำเอามาจากสถานที่ก่อสร้างจริงแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ประเด็นของปัญหาสำหรับกรณีนี้ก็คือ เจ้าของอาคารนั้นมีความต้องการที่จะทำการซ่อมแซมไม่ให้มีช่องว่างระหว่างพื้นและตัวอาคารอีกต่อไปเพราะมีความกังวลในหลายๆ ประเด็น เช่น กลัวว่าจะมีสัตว์หรือแมลงมีพิษต่างๆ เข้าไปอาศัยอยู่ข้างใต้อาคาร เป็นต้น ในขณะเดียวกันก็มีความกังวลด้วยว่าหากทำการซ่อมแซมไปแล้วพื้นก็ยังคงจะเกิดการทรุดตัวต่อไปไม่สิ้นสุด ซึ่งก็จะทำให้การลงทุนทำการซ่อมแซมในครั้งนี้เปล่าประโยชน์ โดยที่สถานที่ก่อสร้างแห่งนี้มีลักษณะเป็นหมู่บ้านจัดสรรที่ดินจะมีลักษณะของการรับน้ำหนักทั่วๆ ไปเท่านั้นครับ

ดังนั้นคำถามง่ายๆ ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานแก้ไขเพื่อซ่อมแซมและก่อสร้างในโครงการแห่งนี้ เพื่อนๆ จะให้คำแนะนำต่อเจ้าของอาคารอย่างไรระหว่าง (1) แนะนำเจ้าของอาคารว่า อย่าเพิ่งทำการซ่อมแซมส่วนของอาคารนี้เลยเพราะสุดท้ายดินนั้นยังคงจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวที่ถือได้ว่ายังมีค่าที่มากอยู่ (2) แนะนำเจ้าของอาคารว่า สามารถที่จะทำการซ่อมแซมส่วนของอาคารนี้ได้เลยเพราะพื้นดินนั้นได้เกิดการทรุดตัวที่มากจนได้ที่แล้วและต่อไปดินก็อาจจะเกิดค่าการทรุดตัวได้บ้างแต่ก็จะถือว่าเป็นค่าที่น้อยมากๆ เลย ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการพิจารณาเรื่องดินนั้นมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวเพิ่มเติมจากปัจจุบันหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ก่อนๆ ก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นวันนี้เราจะมาทำการคำนวณหาว่า ในฐานะที่เรานั้นผู้ออกแบบงานแก้ไขเพื่อซ่อมแซมและก่อสร้างในโครงการแห่งนี้เราจะให้คำแนะนำอย่างไรกับทางเจ้าของดี จึงจะทำให้เจ้าของอาคารนั้นสามารถที่จะตัดสินใจได้โดยที่เกิดความคุ้มค่าสูงสุดไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้จากโพสต์ของผมเมื่อสัปดาห์ก่อนกันสักเล็กน้อยนั่นก็คือ ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า หากดินในสถานที่ก่อสร้างของเรานั้นมีลักษณะของการรับน้ำหนักแบบทั่วๆ ไปเท่านั้นและจะไม่เกิดกรณีของดินที่มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ เราจะสามารถประมาณการออกมาได้ว่า ดินของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดโดยทำการประเมินได้จากผลการทดสอบดินโดยจะสามารถทำการพิจารณาได้จาก
(1) ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน หรือ WATER CONTENT
(2) ค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำ หรือ UNDRAINED SHEAR STRENGTH

เรามาเริ่มต้นกันที่ค่าอัตราส่วนของน้ำในดินกันก่อน ทั้งนี้หลักการในการพิจารณาจากค่าๆ นี้จะทำได้ค่อนข้างง่ายเลยนั่นก็คือ ทำการพิจารณาว่าค่าเฉลี่ยของ ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน ของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 ใช่หรือไม่ หากว่าคำตอบคือ ใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อย่างรวดเร็วและก็มากด้วยแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 80 แต่ก็ยังมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อยู่แต่ก็จะค่อยๆ เกิดแบบช้าๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป สุดท้ายหากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวที่น้อยมากๆ เลยละครับ

นอกจากจะทำการพิจารณาถึง ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน แล้วเพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย โดยเรามาทบทวนกันกับส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกันกับค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำที่เราอาจจะเรียกแทนว่าค่า Su ก็ได้ ทั้งนี้หากจะทำการสรุปหลักการง่ายๆ ที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินว่าดินในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งนั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดก็คือ ทำการตรวจสอบจากผลการทดสอบดินของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อนมาก หรือ VERY SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.25 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม หรืออาจจะดีขึ้นมาหน่อยก็คือค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อน หรือ SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นจะมีค่าที่มากกว่า 1.25 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 2.50 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5.00 ตัน/ตร.ม ใช่หรือไม่ หากว่าใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้มากแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวปานกลาง หรือ MEDIUM CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นมีค่าที่มากกว่า 2.5 ตัน/ตร.ม ขึ้นไป ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 5.00 ตัน/ตร.ม แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวที่ค่อนข้างจะน้อยนั่นเองครับ

ก่อนอื่นเลย ผมเพียงแค่อยากที่จะให้เพื่อนๆ ได้ลองทำการสังเกตข้อมูลลักษณะของชั้นดินให้ดีๆ ก่อนนะว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ?
ถูกต้องแล้ว ชั้นดินในโครงการนี้ค่อนข้างที่จะมีความแปรปรวนสูงมากๆ เช่น ดินชั้นบนเป็นดินทรายแต่ดินชั้นถัดมานั้นกลายเป็นดินเหนียวและดินชั้นถัดไปกลับไปเป็นดินทรายอีกแล้ว เป็นต้น ซึ่งสิ่งที่เราพบได้จากผลการทดสอบดินในโครงการก่อสร้างแห่งนี้จะมีความสอดคล้องกันกับที่ผมได้ไปตรวจสอบประวัติของโครงการก่อสร้างแห่งนี้มาว่า ในอดีตพื้นที่ตรงนี้เคยมีลักษณะเป็นบ่อและบึงเก่ามาก่อน พอเจ้าของโครงการมากว้านซื้อที่ดินเพื่อที่จะทำการก่อสร้างให้พื้นที่ตรงนี้เป็นโครงการหมู่บ้านจัดสรรจึงได้ทำการไล่ถมดินให้เป็นพื้นที่ราบ ผมคาดหมายว่าในขณะนั้นเจ้าของโครงการเองก็มีความหวังดี โดยที่เค้าไม่ต้องการที่จะผู้ที่มาซื้อบ้านในโครงการแห่งนี้ต้องเจอกับสภาพของดินที่เกิดการทรุดตัวที่มาก เค้าจึงมีความต้องการที่จะให้ดินนั้นมีความแน่นตัวจึงตัดสินใจใช้ดินทรายเพื่อนำมาถมแต่คงจะเกิดความผิดพลาดขึ้นในขั้นตอนหนึ่งที่ต้องถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ เลยนั่นก็คือ ขาดขั้นตอนของการบดอัดดินที่ดีเพียงพอเพราะการจะทำการควบคุมงานการบดอัดดินในพื้นที่ๆ มีขนาดใหญ่มากๆ นั้นเป็นเรื่องที่ค่อนข้างที่จะทำได้ยากมาก ยิ่งในอดีตตอนที่เครื่องไม้เครื่องมือนั้นไม่ได้มีความทันสมัยเหมือนในปัจจุบันด้วยก็ยิ่งแล้วใหญ่เลยและทั้งหมดนี้ก็สามารถที่จะอธิบายได้ถึงลักษณะของความแปรปรวนของชั้นดินในสถานที่ก่อสร้างแห่งนี้ครับ

เอาละ สำหรับกรณีที่ดินนั้นมีความแปรปรวนเช่นนี้ผมมีข้อแนะนำในการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดินของชั้นดินโดยแทนที่จะพิจารณาดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร เพียงอย่างเดียว ผมขอแนะนำให้ทำการหาค่าเฉลี่ยของชั้นดินเพิ่มอีก 2 ค่า นั่นก็คือ ดินที่เป็นเฉพาะดินเหนียว และดินทั้งหมดและเลือกพิจารณาใช้ค่ามากที่สุดเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ ดังนั้นเรามาดูรูปที่ 6 และ 7 ประกอบการคำนวณนะครับ

ค่าแรก ซึ่งก็จะเริ่มจากดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร เพียงอย่างเดียวก่อนก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Wn = ( 16 + 18 + 15 + 16 + 44 ) / 5
Wn = 21.8%

ค่าที่สอง ดินที่เป็นเฉพาะดินเหนียว ซึ่งก็จะไล่ลงมาตั้งแต่ระดับดินที่ 10 เมตร ลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Wn = ( 62 + 60 + 40 + 25 + 38 + 22 ) / 6
Wn = 41.2%

ค่าที่สามนั่นก็คือ ดินทั้งหมด ซึ่งก็จะเริ่มตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Wn = ( 16 + 18 + 15 + 16 + 44 + 62 + 60 + 40 + 25 + 38 + 22 ) / 11
Wn = 32.36%

ดังนั้นค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนของน้ำที่มีค่าสูงที่สุดของดินจึงมีค่าเท่ากับร้อยละ 41.2 ซึ่งค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเท่ากับร้อยละ 41.2 นั้นถือได้ว่ามีค่าที่น้อยกว่าค่าอัตราส่วนของน้ำในดินร้อยละ 80 ที่ผมได้อธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้ ดังนั้นสำหรับการพิจารณาค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเราอาจจะสามารถสรุปได้เลยว่า ดินในบริเวณนี้จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้น้อยถึงน้อยมาก แต่ สักครู่นะ อย่างที่ผมได้เรียนไปว่า เพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีก เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย ดังนั้นเมื่อเราทำการพิจารณาจากค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดิน ก็ให้เราพิจารณาใช้ค่าเฉลี่ยเหมือนกับที่ทำในกรณีของการคำนวณหาค่าอัตราส่วนของน้ำในดินแต่ครั้งนี้เราจะพิจารณาโดยใช้ค่าที่ต่ำที่สุดแทน

ดังนั้นเรามาดูรูปที่ 6 และ 7 ประกอบการคำนวณนะครับ
ค่าแรก ซึ่งก็จะเริ่มจากดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร เพียงอย่างเดียวก่อนก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 3.16 + 4.33 ) / 2
Su = 3.75 T/M^(2)
ค่าที่สอง ดินที่เป็นเฉพาะดินเหนียว ซึ่งก็จะไล่ลงมาตั้งแต่ระดับดินที่ 10 เมตร ลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 1.57 + 1.74 + 2.25 ) / 3
Su = 1.85 T/M^(2)
ค่าที่สามนั่นก็คือ ดินทั้งหมด ซึ่งก็จะเริ่มตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 3.16 + 4.33 + 1.57 + 1.74 + 2.25 ) / 5
Su = 2.61 T/M^(2)

ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ Su ที่มีค่าต่ำที่สุดของดินจึงมีค่าเท่ากับร้อยละ 1.85 T/M^(2) ซึ่งก็จะมีค่าที่มากกว่า 1.25 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังมีค่าน้อยกว่า 2.50 ตัน/ตร.ม แสดงว่าหากอาศัยการตีความสภาพดินแบบเทียบเท่าก็อาจจะสามารถจำแนกได้ว่า ดินนั้นๆ จะมีสภาพเป็น ดินเหนียวอ่อน หรือ SOFT CLAY และนั่นก็หมายความว่า ดินในโครงการก่อสร้างของเรานั้นยังคงมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้อยู่แต่ก็จะลดลงมามากและก็จะเป็นลักษณะของการทรุดตัวแบบที่ค่อยๆ เกิดขึ้นแบบช้าๆ นะครับ

จะเห็นได้ว่าผลสรุปที่ออกมาจากการพิจารณาค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินดังกล่าวนี้จะออกมามีความขัดแย้งกันกับการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน ซึ่งผลจากตารางแสดงลักษณะของชั้นดินในรูปที่ 8 ก็ยังคงแสดงให้เห็นว่า มีชั้น ดินเหนียวอ่อน วางตัวอยู่ในชั้นดินที่เราได้ทำการพิจารณาด้วย ดังนั้นเราก็สามารถที่จะทำการสรุปผลได้ว่า ลูกค้าสามารถที่จะซ่อมแซมปิดช่องว่างใต้อาคารนี้เพื่อป้องกันเหตุอันไม่พึงประสงค์ที่มีความกังวลใจอยู่ได้แต่ก็ควรที่จะเลือกวิธีในการก่อสร้างที่มีความเหมาะสมด้วยเพราะอย่างไรเสียพื้นรอบๆ ตัวอาคารเองก็ยังคงจะมีการทรุดตัวเกิดขึ้นอยู่ได้บ้างแต่ก็จะมีค่าการทรุดตัวที่น้อยมากๆ และจะเป็นการทรุดตัวแบบที่ค่อยๆ เกิดขึ้น เช่น อาจจะก่อสร้างโดยใช้ครีบที่จะห้อยตัวลงมาจาก

โครงสร้าง เป็นต้นครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการพิจารณาเรื่องดินนั้นมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวเพิ่มเติมจากปัจจุบันหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

เลือกเสาเข็มให้เหมาะกับงานเสริมฐานราก และสามารถรองรับน้ำหนักของโครงสร้างได้

เลือกเสาเข็มให้เหมาะกับงานเสริมฐานราก และสามารถรองรับน้ำหนักของโครงสร้างได้

เสาเข็มมีหน้าที่ถ่ายเทน้ำหนักของตัวอาคารลงไปชั้นดินหรือหินที่รองรับน้ำหนักของคาร ถ้าหากชั้นดินหรือหินแข็งแรงพอรับน้ำหนักอาคารได้อยู่แล้ว ก็ไม่ต้องใช้เสาเข็ม เพราะการตอกเสาเข็มนั้นขึ้นกับสภาพแวดล้อมของดินแต่ละพื้นที่ที่ทำการก่อสร้าง หากดินบริเวณพื้นที่ก่อสร้างอ่อนตัวมาก ๆ ถ้าไม่ใช้เสาเข็มรองรับก็อาจจะทำให้อาคารทรงตัวอยู่ไม่ได้ เนื่องไม่มีตัวรองรับน้ำหนักของโครงสร้าง แต่ถ้าหากมีการก่อสร้างอาคารสูงๆ อยากให้โครงสร้างมีความแข็งแรงและตัวฐานสามารถรองรับน้ำหนักได้มาก แนะนำให้ตอกเสาเข็มเพื่อป้องกันการทรุดตัว สำหรับเสาเข็มที่เหมาะกับงานเสริมฐานรากอาคารที่ผลิตโดยภูมิสยาม คือ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE เนื่องเสาเข็มสามารถเชื่อมต่อแต่ละท่อนได้โดยการเชื่อมด้วยไฟฟ้า และใช้ปั้นจั่นแบบพิเศษในการตอก ทำให้สามารถตอกต่อกันได้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE มีคุณสมบัติที่ดีในเรื่องความสั่นสะเทือนในขณะตอกมีน้อยกว่าเสาเข็มใหญ่ และโอกาศที่จะสร้างความเสียหายต่อโครงสร้างอาคารด้านข้างมีน้อย จึงเหมาะกับงานเสริมฐานรากเพราะรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด ลงสู่เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ป้องกันการการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง เราพร้อมให้บริการทั่วประเทศและยินดีให้คำปรึกษาฟรี!

Miss Nirin 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” ความสำคัญของหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ

ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสาธิตขั้นตอนในการคำนวณหาว่า หากเรามีหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล ที่ถูกโอบรัดด้วยเหล็กปลอกแล้ว เราจะมีวิธีในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างได้อย่างไรบ้าง ดังนั้นเพื่อเป็นการไม่เสียเวลาผมจะทำการอธิบายขั้นตอนในการคำนวณผ่านตัวอย่างที่ผมได้ทำการกำหนดขึ้นมาก็แล้วกันนะครับ


ผมมีหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ขนาดความกวามกว้างระบุหรือ NOMINAL WIDTH เท่ากับ 500 MM และความลึกระบุหรือ NOMINAL DEPTH เท่ากับ 700 MM แต่จะมีค่าความลึกที่ถูกทำการก่อสร้างจริงหรือ ACTUAL DEPTH เท่ากับ 690 MM โดยที่คอนกรีตนั้นจะมีค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ยังไม่ถูกโอบรัดทางด้านข้างหรือ fc’ มีค่าเท่ากับ 210 KSC และเหล็กปลอกนั้นจะเป็นเหล็กข้ออ้อยที่มีค่าหน่วยแรงดึงที่จุดครากมีค่าเท่ากับ 4000 KSC ทั้งนี้ผมกำหนดให้ใช้ค่าตัวคูณกำลังส่วนเกินของวัสดุหรือ OVER STRENGTH FACTOR มีค่าเท่ากับ 1.25 และรายละเอียดของการเสริมเหล็กยืนและเหล็กปลอก รวมถึงมิติต่างๆ ของโครงสร้างเสา คสล และการเสริมเหล็กนั้นจะเป็นไปตามรูปที่ 1 ที่ผมได้แนบเอาไว้ในโพสต์ๆ นี้ หากผมทำการเสริมให้เหล็กปลอกทุกๆ เส้นภายในหน้าตัดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล นี้มีค่าของระยะห่างของเหล็กปลอกหรือ S ที่เท่าๆ กัน ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ 150 MM ดังนั้นวันนี้เราจะมาทำการคำนวณหาว่าค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างหรือ fcc’ ของหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ต้นนี้จะมีค่าเท่ากับเท่าใดไปพร้อมๆ กันนะครับ

เริ่มต้นจากอย่างแรกเลยคือ เราจะต้องทราบก่อนว่าเหล็กปลอกที่ใช้เสริมในหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีค่าเท่ากับเท่าใด ซึ่งกรณีของปัญหาข้อนี้เราจะพบว่า เหล็กปลอกนั้นจะมีขนาดที่เท่าๆ กันทั้งหมดนั่นก็คือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 12 MM ดังนั้นจะทำให้ค่าพื้นที่หน้าตัดของเหล็กปลอก 1 เส้น นั้นมีค่าเท่ากับ
Abh = π × (12/10)^(2) / 4
Abh = 1.13 CM^(2)

เราจะมาเริ่มต้นทำการคำนวณหาค่าแรงเค้นที่เกิดจากการโอบรัดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ในด้านกว้างหรือ f2 กันก่อน ซึ่งก็จะพบว่าจะมีเหล็กปลอกที่ทำหน้าที่ในการโอบรัดเหล็กยืนอยู่ในด้านกว้างนี้ทั้งหมดเท่ากับ 3 เส้น ทำให้พื้นที่ของเหล็กปลอกที่ทำการโอบรัดอยู่ในด้านกว้างหรือ Ash2 นั้นจะมีค่าเท่ากับ
Ash2 = 1.13 × 3
Ash2 = 3.39 CM^(2)

ส่วนความกว้างของโครงสร้างเสา คสล ที่ถูกโอบรัดหรือ BC2 นั้นจะมีค่าเท่ากับ 420 MM ดังนั้นเราจะสามารถทำการคำนวณหาค่าๆ นี้ได้จากสมการต่อไปนี้
f2 = Ash2 × fs / ( BC2 × S )
f2 = 3.39 × 1.25 × 4000 / ( 420/10 × 150/10)
f2 = 26.9 KSC

ต่อมาเราจะมาทำการคำนวณหาค่าแรงเค้นที่เกิดจากการโอบรัดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ในด้านลึกหรือ f3 กันต่อ ซึ่งก็จะพบว่าจะมีเหล็กปลอกที่ทำหน้าที่ในการโอบรัดเหล็กยืนอยู่ในด้านลึกนี้ทั้งหมดเท่ากับ 4 เส้น ทำให้พื้นที่ของเหล็กปลอกที่ทำการโอบรัดอยู่ในด้านกว้างหรือ Ash3 นั้นจะมีค่าเท่ากับ
Ash3 = 1.13 × 4
Ash3 = 4.52 CM^(2)

ส่วนความลึกของโครงสร้างเสา คสล ที่ถูกโอบรัดหรือ BC3 นั้นจะมีค่าเท่ากับ 610 MM ดังนั้นเราจะสามารถทำการคำนวณหาค่าๆ นี้ได้จากสมการต่อไปนี้
f3 = Ash3 × fs / ( BC3 × S )
f3 = 4.52 × 1.25 × 4000 / ( 610/10 × 150/10)
f3 = 24.7 KSC

ต่อมาเราจะมาทำการคำนวณหาค่าสัดส่วนระหว่างค่าระยะห่างของเหล็กปลอกต่อระยะของเสาแต่ละด้านโดยเฉลี่ยของหน้าตัดโครงสร้างเสา คสล นี้กัน ซึ่งเราจะสามารถทำการคำนวณหาค่าๆ นี้ได้จากสมการต่อไปนี้
S/BC AVERAGE = ( S/BC2 + S/BC3 ) / 2
S/BC AVERAGE = ( 150/420 + 150/610 ) / 2
S/BC AVERAGE = 0.30

ในขั้นตอนต่อมาเราจะมาทำการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์การโอบรัดแบบประสิทธิผลหรือค่า ke กัน เมื่อเราพิจารณาหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล ของเราแล้วก็จะพบว่า จะมีเหล็กยืนที่ถูกยึดด้วยเหล็กปลอกหรือ NL อยู่ทั้งหมด 10 เส้น ด้วยกัน ดังนั้นเราจะสามารถทำการคำนวณหาค่าๆ นี้ได้จากสมการต่อไปนี้
Ke = ( 1 ‒ S/BC AVERAGE ) × ( NL ‒ 2 ) / NL
Ke = ( 1 ‒ 0.30 ) × ( 10 ‒ 2 ) / 10
Ke = 0.56

ดังนั้นเราจะสามารถทำการคำนวณหาค่าแรงเค้นที่เกิดจากการโอบรัดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล แบบประสิทธิผลหรือ fie ซึ่งจะสามารถทำการคำนวณได้จากผลของการคูณกันระหว่างค่า ke กับค่า fi ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ
f2e = ke × f2
f2e = 0.56 × 26.9
f2e = 15.06 KSC
และ
f3e = ke × f3
f3e = 0.56 × 24.7
f3e = 13.83 KSC

หลังจากนั้นเราจะมาทำการคำนวณหาค่าที่อยู่ในแกน X และ Y ที่เราจะนำไปใช้ในการพิจารณาต่อในแผนภูมิในรูปที่ 2 ที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้ด้วย ซึ่งก็จะเป็นค่าสัดส่วนระหว่างค่าแรงเค้นที่เกิดจากการโอบรัดของหน้าตัดของโครงสร้างเสา คสล แบบประสิทธิผลส่วนด้วยค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ยังไม่ถูกโอบรัดทางด้านข้างที่ถูกปรับแก้ค่าแล้ว ทั้งนี้สำหรับปัญหาข้อนี้ผมจะใช้ค่าการปรับแก้เท่ากับ 0.85 ตามที่มาตรฐานการออกแบบได้แนะนำให้ใช้ก็แล้วกันนะ ดังนั้นค่าในแกน X และ Y ก็จะมีค่าที่ได้จากการคำนวณเท่ากับ
X = f3e / ( C × fc’ )
X = 13.83 / ( 0.85 × 210 )
X = 0.077
และ
Y = f2e / ( C × fc’ )
Y = 15.06 / ( 0.85 × 210 )
Y = 0.084

ซึ่งผลจากการพิจารณาค่าในแกน X และ Y ก็จะพบว่าค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างส่วนด้วยค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ยังไม่ถูกโอบรัดทางด้านข้างที่ถูกปรับแก้ค่าแล้วจะมีค่าประมาณ 1.45 ดังนั้นหากเราแทนค่าๆ นี้ลงไปในสมการข้างล่าง เราก็จะสามารถทำการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างออกมาได้มีค่าเท่ากับ
fcc’ / ( C × fc’ ) = 1.45
fcc’ / ( 0.85 × 210 ) = 1.45
fcc’ = 1.45 × 0.85 × 210
fcc’ = 259 KSC
fcc’ ≈ 260 KSC

ซึ่งเราจะเห็นได้ว่าค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้างนั้นจะมีค่าสูงกว่าค่าหน่วยแรงแรงอัดของคอนกรีตที่ยังไม่ถูกโอบรัดทางด้านข้างอยู่ที่ประมาณ 1.24 เท่า ทั้งนี้หากเรามีความต้องการที่จะเพิ่มค่าสัดส่วนของค่าหน่วยแรงนี้ให้มีค่าที่เพิ่มสูงขึ้นกว่านี้อีก นั่นก็แสดงว่าเราจะต้องทำการลดระยะช่วงว่างของเหล็กปลอกให้มีความถี่มากยิ่งขึ้นและ/หรือทำการเพิ่มขนาดของพื้นที่หน้าตัดของเหล็กปลอกในแต่ละชั้นให้มีค่าที่มากยิ่งขึ้นไปอีกก็ได้นะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันจันทร์
#ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง
#ความสำคัญของหน่วยแรงอัดของคอนกรีตที่ถูกโอบรัดทางด้านข้าง
#ครั้งที่2
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

“อยากต่อเติมบ้าน แต่จะตอกเสาเข็มชิดติดกำแพงได้ไหม??” ภูมิสยามมีคำตอบค่ะ!!

posted in: PILE DRIVING

มีหลายท่านเลยนะคะ ที่อยากจะต่อเติมบ้าน แต่กังวลใจ ว่ากลัวจะรบกวนเพื่อนบ้าน?  จะตอกเสาเข็มชิดติดกำแพงได้รึป่าว? วันนี้ Ms.Spunpileจะมาตอบปัญหานี้ให้เองค่ะ

Ms.Spunpileได้นำภาพการต่อเติมชิดกำแพงมาให้ดูเป็นตัวอย่างค่ะ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. วัดจากเซ็นเตอร์เสาเข็ม เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ ไม่กระทบโครงสร้างเดิม และ หน้างานสะอาด เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม งานเสริมฐานรากอาคาร ต่อเติมบ้าน ต่อเติมหน้าบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน ต่อเติมหลังบ้าน ต่อเติมอาคาร หรือสร้างใหม่เราพร้อมบริการค่ะ

สปัน-ไมโครไพล์ สปัน-ไมโครไพล์

ภูมิสยามผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มคุณภาพโดยภูมิสยามช่วยแก้ปัญหาการก่อสร้างต่อเติมหรือสร้างใหม่สะดวกสะอาดรวดเร็วค่ะ เสาเข็มผลิตด้วยเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และคุณภาพมาตรฐานโรงงาน กระบวนการผลิตและการตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และ ISO 45001:2018

✔️ รับประกัน 7 ปี! (เสาเข็มสปัน)
✔️ รับประกัน 3 ปี! (เสาเข็ม I)
✔️ ออกแบบฐานรากฟรี
✔️ รายการคำนวณฟรี
✔️ สำรวจหน้างานฟรี
✔️ การตอก ISO 9001:2015
✔️ การตอก ISO 45001:2018
✔️ SCG Endorsed Brand
✔️ สะสม Point แลกรับรางวัล
✔️ MICROPILE TRAINING CENTER ศูนย์ฝึกอบรมอาชีพ การตอกเสาเข็มไมโครไพล์
✔️ ประกันความเสียหายระหว่างตอกโดยกรุงเทพประกันภัย

*เงื่อนไขเป็นไปตามที่บริษัทกำหนด
☎️ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
091-895-4269

📲 ไลน์ภูมิสยาม:
1) LINE ID: bsp15
2) LINE ID: bsp829
3) LINE ID: 0827901447
4) LINE ID: 0827901448
5) LINE ID: 0918954269
LINE OA: @bhumisiam

🌎 เว็บไซต์:
www.micro-pile.com
www.spun-micropile.com
www.bhumisiammicropile.com
www.bhumisiam.com
www.microspunpile.com

🔘 Products
🔶 รายการเสาเข็มและการรับน้ำหนัก:
⬆️เสาเข็มไอ ไมโครไพล์
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
⏹เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
⏺เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น
*การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่

#เสาเข็ม
#ตอกเสาเข็ม
#ไมโครไพล์
#สปันไมโครไพล์
#เสาเข็มไมโครไพล์
#เสาเข็มสปันไมโครไพล์
#micropile
#spunmicropile
#piledriving
#microspun

ต่อเติม พื้นที่ว่างหน้าบ้านให้เป็นโรงจอดรถ เลือกเสาเข็มแบบไหนให้เหมาะกับงาน??

ต่อเติม พื้นที่ว่างหน้าบ้านให้เป็นโรงจอดรถ เลือกเสาเข็มแบบไหนให้เหมาะกับงาน??

ในการต่อเติมบ้านนั้น ต้องคำนึงถึงเรื่องฐานรากที่มั่นคง เพราะเป็นปัจจัยสำคัญในการต่อเติมให้งานไม่ทรุด โดยการลงเสาเข็มที่ดีนั้นจะต้องใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมมาคำนวณ ออกแบบ และควบคุมการต่อเติม ซึ่งเสาเข็มที่นิยมใช้กันในการต่อเติม คือ "เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile" เพราะขั้นตอนในการทำงานง่ายและราคาประหยัดกว่าแบบอื่น ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน มีการออกแบบการผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

หากสนใจเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ต้องภูมิสยาม เนื่องจากได้มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 เราพร้อมให้บริการทั่วประเทศและยินดีให้คำปรึกษาฟรี!!

Miss Nirin

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ระบบโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับลักษณะของระบบโครงสร้างๆ หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วมีการใช้งานอย่างแพร่หลายโดยทั่วไปแต่สาเหตุที่เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่มีความคุ้นเคยหรืออาจจะยังไม่รู้จักกันกับระบบโครงสร้างนี้ดีเพียงพอนั่นก็เป็นเพราะโดยมากแล้วระบบโครงสร้างดังกล่าวนี้จะมีการใช้งานอยู่ในงานประเภทที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งเจ้าระบบโครงสร้างนี้มีชื่อว่า ระบบโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ หรือ PIPE RACK STRUCTURAL SYSTEM นั่นเองครับ


จริงๆ แล้วจุดประสงค์ของการใช้งานเจ้าโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อก็เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการนำเอาแนวท่อจากตำแหน่งๆ หนึ่ง ผ่านไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งที่ต้องการ โดยที่จะเกิดความปลอดภัยต่อทั้งตัวแนวท่อเอง ต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนที่มีความเกี่ยวข้อง และ สุดท้ายก็คือ สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่งก็จะรวมถึงสิ่งของต่างๆ ที่ต้องแวดล้อมเจ้าแนวท่อนี้ด้วย เช่น อาคารสำนักงาน อาคารโรงงานอุตสาหกรรม ถนน รถ ยานพาหนะ หรือ แม้กระทั่งแนวท่อเส้นอื่นๆ ที่อาจจะต้องมาพบเจอกันก็ได้ เป็นต้นนะครับ

ดังนั้นเราจะพบเห็นได้ว่าเจ้าโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อนี้จะมีอยู่ในหลายๆ โครงการที่ต้องมีการเดินท่อต่างๆ โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมหรือแม้กระทั่งอาคารทำการหรืออาคารพาณิชย์ทั่วๆ ไปก็ตามแต่ที่จำเป็นที่จะต้องมีงานท่อที่ทำหน้าที่ในการขนส่งก๊าซหรือของเหลวต่างๆ จากจุดหนึ่ง ผ่านไปยังอีกจุดหนึ่งที่ต้องการ ก็จะล้วนแล้วแต่จะมีเจ้าโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อนี้แทบจะในทุกๆ โครงการเลยก็ว่าได้นะครับ

ซึ่งตัวอย่างของรูปในวันนี้เป็นรูปจริงๆ ของโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อที่มีการใช้งานอยู่ในอาคารเรียนของมหาวิทยาลัยที่ผมกำลังเรียนปริญญาเอกอยู่ โดยที่ส่วนใหญ่แล้วท่อเหล่านี้จะทำหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายมวลสารประเภทที่เป็นของเหลวจากจุดหนึ่ง ให้สามารถผ่านไปยังอีกจุดหนึ่งที่มีความต้องการได้ เช่น นำส่ง น้ำมัน จากถังบรรจุน้ำมัน ซึ่งจะตั้งอยู่ในพื้นที่ปลอดภัยที่ทางมหาวิทยาลัยจัดเตรียมเอาไว้ให้ โดยจะส่งผ่านเจ้าน้ำมันนี้ไปยังเครื่อง GENERATOR ที่อาจจะตั้งอยู่ภายในอาคารเรียนใดอาคารเรียนหนึ่งต่อไป เป็นต้นนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#โครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ
#ครั้งที่1
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

1 2 3 4 16