บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

ต่อเติม พื้นที่ว่างหน้าบ้านให้เป็นโรงจอดรถ เลือกเสาเข็มแบบไหนให้เหมาะกับงาน??

ต่อเติม พื้นที่ว่างหน้าบ้านให้เป็นโรงจอดรถ เลือกเสาเข็มแบบไหนให้เหมาะกับงาน??

ในการต่อเติมบ้านนั้น ต้องคำนึงถึงเรื่องฐานรากที่มั่นคง เพราะเป็นปัจจัยสำคัญในการต่อเติมให้งานไม่ทรุด โดยการลงเสาเข็มที่ดีนั้นจะต้องใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมมาคำนวณ ออกแบบ และควบคุมการต่อเติม ซึ่งเสาเข็มที่นิยมใช้กันในการต่อเติม คือ "เสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile" เพราะขั้นตอนในการทำงานง่ายและราคาประหยัดกว่าแบบอื่น ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน มีการออกแบบการผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าเสาเข็มคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา และทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

หากสนใจเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ต้องภูมิสยาม เนื่องจากได้มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 เราพร้อมให้บริการทั่วประเทศและยินดีให้คำปรึกษาฟรี!!

Miss Nirin

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

ปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา”

ในทุกงานก่อสร้างย่อมต้องเจอกับปัญหา ไม่ว่าจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่ เพราะงานก่อสร้างจำเป็นต้องมีปฏิสัมพันธ์กัน เช่น เจ้าของงาน ผู้ออกแบบ ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหาร ผู้ควบคุมงาน หัวหน้าคนงาน คนงาน ผู้รับเหมาหลัก ผู้รับเหมาย่อย ผู้ควบคุมงาน ผู้จัดการโครงการ เป็นต้น

ยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดจาก “ผู้รับเหมา” ได้แก่
1. ปัญหาเรื่อง คน เช่น จำนวนคนงานขาด ไม่เพียงพอต่อการทำงาน ไม่มีประสบการณ์ในการทำงาน ขาดมาตรฐาน ด้านงานฝีมือที่ไม่ดีพอ หรือก่อความความขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกันเอง เป็นต้น
2. ปัญหาเรื่อง การเงิน เช่น ไม่สามารถที่จะเบิกงวดได้ ทำให้เงินหมุนไม่ทัน เป็นต้น ซึ่งปัญหาข้อนี้ยังถือได้ว่าเป็นชนวนสาเหตุของอีกหลายๆ ปัญหาที่อาจจะเกิดตามมาอีกด้วย
3. ปัญหาที่เรื่อง วัสดุต่างๆ ในงานก่อสร้าง เช่น วัสดุอาจเกิดการขาดตลาด ทำให้ไม่สามารถที่จะส่งวัสดุเข้าไซต์งานได้ตามที่กำหนด หรือการปรับขึ้นของราคาวัสดุ หรือวัสดุอาจจะได้ไม่ตรงตามข้อกำหนดในงานก่อสร้าง เป็นต้น
4. ปัญหาเรื่อง เครื่องจักร เช่น เมื่อเกิดความเสียหายต่อเครื่องจักรและไม่มีเครื่องจักรสำรอง ทำให้งานไม่สามารถที่จะดำเนินต่อไปได้ หรืออาจจะไม่มีเครื่องจักรเป็นของตนเอง และไม่สามารถที่จะทำการหาเช่าเครื่องจักรมาใช้ในการทำงานได้ เป็นต้น
5. ปัญหาเรื่อง การบริหารงาน เช่น ผู้รับเหมาอาจไม่มีประสบการณ์ที่ดีเพียงพอ ทำให้การบริหารงานนั้นออกมาไม่ดีพอ หรือ การบริหารงานอาจจะไม่เด็ดขาด หรือเกิดความขัดแย้งระหว่างผู้รับเหมาหลักและผู้รับเหมารายย่อย เป็นต้น

Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

#ไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #Micropile

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่2

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ
1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร
2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร


เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี พ.ศ. 2563 ด้วย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาพูดถึงหัวข้อที่ 2 นั่นก็คือ รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร ซึ่งก็จะเป็นการโพสต์จากลาปี พ.ศ. นี้ไปพร้อมๆ กันเพราะในวันศุกร์หน้าก็จะเป็นวันขึ้นปีใหม่แล้วนั่นก็คือวันที่ 1 มกรคาม พ.ศ. 2564 เราจะได้ขึ้นหัวข้อใหม่ๆ กันบ้างน่ะครับ
หากจะทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องรูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเราก็คงจะต้องเริ่มต้นจากค่าที่เราสนใจที่จะได้จากการตรวจวัดก่อน ซึ่งหากเป็นเพื่อนๆ ที่เป็นแฟนเพจขาประจำของคลิปในทุกๆ วันศุกร์ก็น่าที่จะทราบดีอยู่แล้วว่าจะมีทั้งหมด 3 ค่าหลัก ได้แก่
1. ค่าการเสียรูป หรือ DISPLACEMENT จะมีหน่วยเป็น ระยะทาง
2. ค่าความเร็ว หรือ VELOCITY จะมีหน่วยเป็น ระยะทางส่วนด้วยเวลา
3. ค่าความเร่ง หรือ ACCELERATION จะมีหน่วยเป็น ระยะทางส่วนด้วยเวลายกกำลังสอง

สำหรับรายละเอียดต่างๆ ของค่าทั้งสามนั้น เอาไว้ในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปผมจะขออนุญาตมาลงรายละเอียดเพิ่มเติมให้ก็แล้วกันเนาะ ทีนี้พอเราทำการตรวจวัดค่าข้างต้นได้แล้วเราก็จะนำเอาค่าต่างๆ เหล่านี้ไปใช้ในการออกแบบหรือใช้ในการหาวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรต่อไป ซึ่งเราก็คงต้องมาเริ่มต้นทำความรู้จักกันกับรูปแบบของการทำงานของเครื่องจักรเสียก่อนว่าโดยส่วนใหญ่นั้นเครื่องจักรจะก่อให้เกิดการสั่นไหวใน 2 รูปแบบหลักๆ ซึ่งจะได้แก่
1. ค่าสั่นแบบเกิดการบิดตัว หรือ TORSIONAL VIBRATIO
2. การสั่นแบบเกิดการดัดตัว หรือ BENDING VIBRATION

โดยที่การสั่นทั้งสองรูปแบบข้างต้นนั้นมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้ทั้งในแนวดิ่งและในแนวนอนแยกส่วนกันหรือพร้อมๆ กันก็มีความเป็นไปได้ ซึ่งผลจากการสั่นสะเทือนดังกล่าวนี้นอกจากจะนำมาซึ่งเสียงดังรบกวนและอาจจะก่อให้เกิดความน่ารำคาญในการใช้งานตัวเครื่องจักรแล้ว ผลอีกอย่างหนึ่งที่เราอาจจะไม่ทราบและแน่นอนว่าไม่อยากที่จะให้เกิดขึ้นในชิ้นส่วนของเครื่องจักรด้วยก็คือ พฤติกรรมของความล้า หรือ FATIGUE BEHAVIOR ซึ่งหากขาดการบำรุงรักษาหรือปล่อยเอาไว้นานๆ โดยที่ไม่ทำการแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าว ก็อาจจะนำมาซึ่งการชำรุดและเสียหายของชิ้นส่วนที่มีความสำคัญในการทำงานของตัวเครื่องจักรเลยก็ได้นะครับ

เอาละ สำหรับวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรกันบ้าง ซึ่งก็ต้องทำการเริ่มต้นจากกรณีของการสั่นกรณีแรกกันก่อนนั่นก็คือ เครื่องจักรนั้นมีค่าสั่นเป็นแบบเกิดการบิดตัว เราก็อาจจะเลือกใช้งาน PASSIVE VIBRATION ABSORBER ในการแก้ปัญหาก็ได้เพราะว่าเจ้าอุปกรณ์ตัวนี้ถูกออกแบบมาให้ทำหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาในการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นภายในเครื่องจักรที่เกิดการบิดตัวโดยตรง ซึ่งอุปกรณ์ตัวนี้ก็จะถูกติดตั้งเข้ากับตัวอุปกรณ์หลักและจะส่งผลทำให้เจ้าอุปกรณ์ตัวนี้เกิดการสั่นสะเทือนแทนและในที่สุดก็จะทำให้อุปกรณ์หลักนั้นมีการสั่นสะเทือนที่ลดน้อยลงไปหรือหยุดการสั่นสะเทือนได้ในที่สุด ต่อมาสำหรับกรณีของการสั่นกรณีที่สองนั่นก็คือ เครื่องจักรนั้นมีค่าสั่นเป็นแบบเกิดการดัดตัว เราก็อาจจะเลือกใช้งาน DYNAMIC ABSORBER SYSTEM ในการแก้ปัญหาก็ได้เพราะว่าเจ้าอุปกรณ์ตัวนี้ได้ถูกออกแบบมาให้ทำหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาในการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นภายในเครื่องจักรที่เกิดการดัดตัวโดยตรงเลย ซึ่งเจ้าอุปกรณ์ชนิดนี้จะมีความพิเศษตรงที่สามารถที่จะทำหน้าที่ในการลดการสั่นสะเทือนได้ทั้งในแบบดัดตัวและในแบบบิดตัวด้วยเพราะภายในของเจ้าอุปกรณ์ชนิดนี้จะประกอบด้วยสปริงจำนวน 2 ส่วน โดยที่สปริงส่วนแรกนั้นจะทำหน้าที่ในการรับมือกับการสั่นสะเทือนในแนวของการดัดตัวซึ่งเราจะมีชื่อเรียกของสปริงตัวนี้ว่าเป็น สปริงขด หรือ COIL SPRING ซึ่งก็จะมีอยู่ด้วยกันจำนวน 2 อันที่ทำขึ้นจากวัสดุประเภทเหล็กกล้า ส่วนสปริงชุดที่สองนั้นก็จะทำหน้าที่ในการรับมือกับการสั่นสะเทือนในแนวของการบิดตัว ซึ่งจะมีลักษณะเป็นรูปทรงหน้าตัดสี่เหลี่ยมที่ทำขึ้นจากวัสดุประเภทอะลูมิเนียมน่ะครับ

โดยผมจะต้องขออนุญาตออกตัวเอาไว้ก่อนเลยว่า สำหรับวิธีในการที่จะถูกนำเอามาใช้ในการแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรจริงๆ นั้นควรที่จะต้องดูให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบของการทำงานของเครื่องจักรเป็นหลักเลย ซึ่งก็อาจจะมีอยู่ด้วยกันมากมายหลากหลายวิธีการ ซึ่งวิธีการทั้งสองที่ผมได้นำเอามาหยิบยกเป็นตัวอย่างในวันนี้จึงเป็นเพียงแค่วิธีการที่ได้รับความนิยมใช้กันค่อนข้างแพร่หลายตามท้องตลาดในปัจจุบันเท่านั้นและหากบังเอิญว่าเพื่อนๆ ท่านใดที่อาศัยวิธีการอื่นๆ อยู่ ก็อาจจะนำเอาวิธีการเหล่านั้นมาแชร์เป็นความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนในเพจของเราในใต้โพสต์ๆ นี้ก็ได้นะครับ

ซึ่งผมก็คาดหวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันศุกร์
#ความรู้เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ
#การวิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์
#สรุปขั้นตอนที่มีความสำคัญของการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร
#ครั้งที่2
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

การออกแบบโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ

ผมขอสมมติว่าในรูปเป็นผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างคาน คสล ซึ่งเป็นกรณีของ น้ำหนักบรรทุกเพิ่มค่า หรือ FACTORED LOAD ซึ่งก็จะมี ค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกสูงสุด หรือ MAXIMUM POSITIVE MOMENT เท่ากับ 3625 กก-ซม และมี ค่าโมเมนต์ดัดแบบลบสูงสุด หรือ MAXIMUM NEGATIVE MOMENT เท่ากับ 12000 กก-ซม โดยที่คานนั้นมีความยาวของช่วงเสาเท่ากับ 5.00 เมตร เสาทั้งหมดนั้นมีขนาดของความกว้างและลึกเท่ากับ 250x250 มม และคานนั้นมีขนาดของความกว้างและลึกเท่ากับ 250x500 มม และมี ค่าความลึกประสิทธิผล หรือ EFFECTIVE DEPTH เท่ากับ 450 มม คำถามในวันนี้ก็คือ หากผมกำหนดว่า มาตรฐานในงานก่อสร้างในโครงการแห่งนี้ค่อนข้างที่จะดี มีการควบคุมงานโดยวิศวกรในทุกๆ ขั้นตอนของการก่อสร้าง หากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล นี้ตาม CODE ของ ACI ผมอยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้ช่วยกันคำนวณหาว่าขนาดของ ค่าโมเมนต์ดัดแบบลบที่จะนำมาใช้เพื่อการออกแบบ หรือ DESIGN NEGATIVE MOMENT ของคานๆ นี้จะมีค่าเท่ากับเท่าใดครับ ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัดออกแบบเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

ขั้นตอนแรกเลยก็คือ เมื่อมีการกำหนดเงื่อนไขของการก่อสร้างมาว่า มาตรฐานในงานก่อสร้างในโครงการแห่งนี้ค่อนข้างที่จะดี มีการควบคุมงานโดยวิศวกรในทุกๆ ขั้นตอนของการก่อสร้าง เราจึงไม่ต้องมีความกังวลใดๆ ว่าจะมีการละเลยรายละเอียดใดรายละเอียดหนึ่งของงานวิศวกรรมโครงสร้าง ดังนั้นเราก็จะทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล ให้เป็นไปจามข้อกำหนดของ ACI CODE ได้เลย ซึ่งเราสามารถที่จะทำการคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัดแบบลบที่จะนำมาใช้เพื่อการออกแบบได้ที่หน้าตัดวิกฤติของคานนั่นก็คือ ที่ระยะ d ห่างออกมาจากหน้าเสา ดังนั้นระยะนี้ก็จะมีค่าเท่ากับ
L’ = C / 2 + d
L’ = 0.25 / 2 + 0.45
L’ = 0.125 + 0.45
L’ = 0.575 M

ขั้นตอนต่อมก็คือ ทำการคำนวณหา ค่าน้ำหนักบรรทุกแบบแผ่เทียบเท่า หรือ EQUIVALENT DISTRIBUTED LOAD ของคานออกมาโดยอาศัยหลักการของ ค่าโมเมนต์สถิต หรือ STATIC MOMENT ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ
W × L^(2) / 8 = Mpos + ABS.AVE( Mneg,left + Mneg,right )
W × 5.00^(2) / 8 = 3625 + ( 12000 + 12000 ) / 2
W × 25 / 8 = 3625 + 12000
W × 25 / 8 = 15625
W = 8 / 25 × 15625
W = 5000 KGF/M

จากนั้นเราก็อาศัยหลักการของโครงสร้างคานช่วงเดียว หรือ SIMPLE BEAM มาใช้เพื่อทำการวิเคราะห์โครงสร้างว่า ค่าโมเมนต์ที่จะเกิดการลดลงมาจากปลายคานจะมีค่าเท่ากับเท่าใด
M’ = P × L’ – W × L’^(2) / 2
M’ = ( 5000 × 5 / 2 ) × 0.575 – 5000 × 0.575^(2) / 2
M’ = 6360 KGF-M

สุดท้ายเราก็เพียงแค่นำเอาค่า M’ นี้ไปลดค่าโมเมนต์ดัดแบบลบสูงสุดก็จะได้คำตอบออกมาเป็นค่าโมเมนต์ดัดแบบลบที่จะนำมาใช้เพื่อการออกแบบซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ
Mneg,design = Mneg – M’
Mneg,design = 12000 – 6360
Mneg,design = 5640 KGF-M

ดังนั้นคำตอบสำหรับคำถามในข้อๆ นี้ซึ่งก็คือ ค่าโมเมนต์ดัดแบบลบที่จะนำมาใช้เพื่อการออกแบบ ซึ่งมีการคำนวณออกมาจากหน้าตัดวิกฤติตามที่ CODE ได้ระบุนั้นก็จะมีค่าเท่ากับ 5640 KGF-M นั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการคำนวณหาค่าโมเมนต์ดัดออกแบบเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

“ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ

เนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่อง การทำรายละเอียดของงานวิศวกรรมโครงสร้าง คสล ให้แก่ช่างที่ทำงานที่หน้างานในทำนองที่ว่า หน้าที่ของผู้ออกแบบที่ดีคือ ต้องคิดและคำนึงถึงอยู่เสมอว่าคนทำงานเค้าจะมีความเข้าใจถึงรายละเอียดต่างๆ ที่ผู้ออกแบบอย่างเราๆ นั้นได้ทำการคิดและทำการออกแบบไว้มากหรือน้อยเพียงใดในทุกๆ งานออกแบบ ไม่ว่างานนั้นจะเป็นงานเล็กหรืองานใหญ่เพียงใดก็ตาม โดยที่รูปที่ผมได้ใช้ในการโพสต์นั้นเป็นรูปของโครงสร้างคาน คสล ที่มีโครงสร้างพื้น คสล ติดตั้งอยู่ที่ด้านข้าง ซึ่งอาจจะทำให้แลดูแล้วมีความละม้ายคล้ายคลึงกับโครงสร้างคานรูปตัวทีหรือว่า REINFORCED CONCRETE T-BEAM ซึ่งก็ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้คอมเมนต์สอบถามผมเข้ามาในทำนองว่า หากเราจะทำการออกแบบโครงสร้างที่ผมแสดงนั้นโดยใช้หลักการของโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีจะดีกว่าหรือไม่?


ซึ่งผมก็ได้ตอบแฟนเพจท่านนี้ไปว่า การที่เพื่อนท่านนี้กล่าวเช่นนี้แสดงว่าเค้าอาจจะยังไม่เข้าใจหลักการของการออกแบบโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีอย่างแท้จริงแต่ไม่เป็นไร วันนี้ผมจะขออนุญาตใช้พื้นที่ตรงนี้ในการอธิบายว่าเพราะเหตุใดผมจึงกล่าวเช่นนั้นนะครับ

หากเพื่อนๆ ดูจากในรูปจะเห็นได้ว่า ปริมาณของเหล็กเสริมในแนวนอน ซึ่งก็คือเหล็กเสริมหลักในโครงสร้างคาน คสล นี้จะมีอยู่ด้วยกันทั้งที่ผิวบนและก็ผิวล่าง ซึ่งเหล็กเสริมที่ผิวด้านบนนั้นจะมีปริมาณของเหล็กเสริมที่มากกว่าเหล็กเสริมที่ผิวด้านล่างค่อนข้างที่จะมากเลยนะครับ

นั่นแสดงถึงอะไรครับ?
ถูกต้องแล้ว นั่นแสดงให้เห็นว่า โครงสร้างคาน คสล ของผมนั้นจะต้องทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัด “แบบลบ” มากกว่าที่จะทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัด “แบบบวก” เนื่องด้วยค่าโมเมนต์ดัดแบบลบนั้นจะทำให้ที่ผิว “ด้านล่าง” นั้นเกิด “แรงเค้นอัด” ซึ่งคอนกรีตจะทำหน้าที่ในการต้านทานเป็นหลัก ส่วนที่ผิว “ด้านบน” นั้นจะเกิดเป็น “แรงเค้นดึง” ซึ่งเหล็กเสริมก็จะทำหน้าที่ในการต้านทานแรงดังกล่าวนี้เป็นหลัก ในขณะที่ค่าแรงโมเมนต์ดัดแบบบวกที่โครงสร้างคาน คสล นี้จะต้องรับนั้นไม่ใช่แรงหลัก ซึ่งจะเห็นได้จากปริมาณของเหล็กเสริมที่อยู่ด้านล่างจะมีปริมาณที่น้อยกว่าทางด้านบนค่อนข้างที่จะมากเลยน่ะครับ

ดังนั้นหากสถานการณ์นั้นออกมาตรงกันข้ามนั่นก็คือ โครงสร้างคาน คสล ของผมนั้นจะต้องทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกมากกว่าที่จะทำหน้าที่รับค่าโมเมนต์ดัดแบบลบ เมื่อนั้นผมจึงจะเลือกทำการออกแบบโครงสร้างคาน คสล โดยใช้หลักการของโครงสร้างคาน คสล รูปตัวทีเนื่องด้วยการออกแบบดังกล่าวนั้นจะเป็นการออกแบบที่มีความคุ้มค่า มีความประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงที่สุดเพราะนั่นเท่ากับว่า เราอาศัยวัสดุคอนกรีตที่ใช้ในการทำการก่อสร้างโครงสร้างพื้น คสล ที่อยู่ด้านบนในการมาช่วยรับแรงเค้นอัดที่เกิดขึ้นจากค่าโมเมนต์ดัดแบบบวกนั่นเองครับ

ผมหวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านในวันนี้จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#ลักษณะของค่าโมเมนต์ดัดที่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างคานรูปตัวที
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

การวิเคราะห์โครงสร้างให้ทันสมัยด้วยวิธีการวิเคราะห์เมตริกซ์ หรือ MATRIX ANALYSIS METHOD ซึ่งเป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาจากการอาศัยหลักการทางด้าน FINITE ELEMENT ANALYSIS เป็นการวิเคราะห์เชิงลึก ซึ่งมีการพิจารณาชิ้นส่วนเล็ก ๆ ของโครงสร้าง ซึ่งการวิเคราะห์โครงสร้างหรือ STRUCTURAL ANALYSIS METHOD ต่าง ๆที่กล่าวมานั้นจะรวมไปถึงการวิเคราะห์โครงสร้าง MATRIX METHOD ซึ่งจะสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 แบบใหญ่ๆ ได้แก่
1. วิธีการคำนวณหาแรง หรือ FORCE METHOD ซึ่งวิธีการนี้จะทำการกำหนดให้ค่า แรง หรือ FORCE ของ ชิ้นส่วน หรือ MEMBER ต่างๆ เป็นตัวแปรที่ไม่ทราบค่า หรือ UNKNOWN ในการแก้สมการทางคณิตศาสตร์จากนั้นค่อยนำเอาค่า แรง ที่คำนวณได้ดังกล่าวไปคำนวณหา ค่าการเสียรูป ที่เกิดขึ้นในระบบของโครงสร้าง
2. วิธีการคำนวณหาค่าเสียรูป หรือ DISPLACEMENT METHOD ซึ่งวิธีการนี้จะทำการกำหนดให้ค่า การเสียรูป หรือ DISPLACEMENT ของ จุดต่อ หรือ NODE ต่างๆ เป็นตัวแปรที่ไม่ทราบค่า หรือ UNKNOWN ในการแก้สมการทางคณิตศาสตร์จากนั้นค่อยนำเอาค่า การเสียรูป ที่คำนวณได้ดังกล่าวไปคำนวณหา แรง ที่เกิดขึ้นในระบบของโครงสร้าง

เมื่อวิธีการดังกล่าวข้างต้นนั้นได้รับการพัฒนามาจนถึง MATRIX METHOD ก็จะสามารถทำการแบ่งออกได้เป็นทั้งหมด 2 วิธีการเช่นกันก็คือ วิธีการ MATRIX FORCE METHOD และ วิธีการ MATRIX DISPLACEMENT METHOD ทั้งนี้เราจะพบว่าในที่สุดแล้ว วิธีการ MATRIX DISPLACEMENT METHOD จะเป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมมากกว่า วิธีการ MATRIX FORCE METHOD สืบเนื่องจากเหตุผลหลักๆ 2 ประการ ดังนี้
- วิธีการ MATRIX FORCE METHOD จะมีขั้นตอนในการคำนวณหาคำตอบที่ยุ่งยากมากกว่าวิธีการ MATRIX DISPLACEMENT METHOD
- วิธีการ MATRIX DISPLACEMENT METHOD จะให้คำตอบของค่าแรงและการเสียรูปโดยตรง ซึ่งวิธีการ MATRIX FORCE METHOD นั้นไม่สามารถทำได้

เวลาที่เรานำเอาทั้ง 2 วิธีการไปเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะพบว่าวิธีการ MATRIX FORCE METHOD จะมีความยุ่งยากมากกว่าวิธีการ MATRIX DISPLACEMENT METHOD มาก ๆ


Miss nirin

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

โครงสร้างภายในของเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile

โครงสร้างภายในของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม สปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

ลักษณะของเสาเข็มเพื่อการต่อเติม Spun Micro Pile มีลักษณะกลม กลวงจึงช่วยลดการสั่นสะเทือนเวลาตอก ถึงแม้ว่าจะตอกเสาเข็มใช้ความยาวมาก ก็สามารถลดแรงดันของดินในขณะตอกได้ โดยดินจะขึ้นทางรูกลวงของเสาเข็ม ซึ่งจะช่วยลดความกระทบกระเทือนที่มีต่อโครงสร้าง หรืออาคารข้างเคียงได้เป็นอย่างมาก

ซึ่งเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของ บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด นั้นจะมีโครงสร้างภายในเหล็กปลอกรัดหัวเสาเข็มหัวท้ายเหล็ก FB หนา 6 มิลลิเมตร ความหนาของคอนกรีตจะอยู่ในช่วง 6-8 เซนติเมตร ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากรูปข้างล่าง

โครงสร้างของเสาเข็ม Spun micro pile เป็นเหล็ก 9 มิลลิเมตร เพื่อสำหรับทำเป็นเหล็ก Dowel และพันรอบโครงเหล็กแกนหลักตั้งแต่ต้นเสาเข็มจนถึงปลาย ด้วยเหล็ก 6 มิลลิเมตร

เหล็กปลอกรัดรอบหัวเข็ม เป็นเหล็กแบนหนา 6 มิลลิเมตร และ เสาเข็มแต่ละท่อนจะมีความยาว 1.5 เมตร ซึ่งความยาวนี้สามารถเพิ่มได้โดยการนำเสาเข็มมาเชื่อมต่อกัน

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

ต้องการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ตอบโจทย์การต่อเติม เสริมฐานรากโรงงานขนาดใหญ่ ได้อย่างตรงจุด ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และไอไมโครไพล์ I-Micropile

ตอบโจทย์การต่อเติม เสริมฐานรากโรงงานขนาดใหญ่ ได้อย่างตรงจุด ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และไอไมโครไพล์ I-Micropile

โรงงานที่ต้องรองรับน้ำหนักเครื่องจักรขนาดใหญ่ ก็จะมีน้ำหนักมากดทับโครงสร้างมากจนเกินไป และอาจมีผลกระทบ ที่ทำให้เกิดการทรุดตัวได้สูง ดังนั้นเราจึงต้องมีการเลือกตอกเสาเข็มที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อยกระดับความมั่นคงให้กับโครงสร้างเดิม และเสริมฐานรากโรงงานให้มีความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น เพื่อป้องกันการทรุดตัวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ภูมิสยาม เราขอแนะนำ เสาเข็มคุณภาพ เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ และเสาเข็มไอ ไมโครไพล์
เสาเข็มได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย มาตรฐานการออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และอาชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549

เรื่องเสาเข็ม ไว้ใจภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spun-micropile และเสาเข็มไอ ไมโครไพล์ I-Micropile เรายินดีให้คำปรึกษา และพร้อมบริการทั่วประเทศ

Miss Spunpile

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุด ที่ไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ


ผมขอทำการสมมติว่า ผมกำลังดำเนินการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่ โครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION อยู่ซึ่งผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างก็พบว่า ค่าแรงกระทำในแนวดิ่งใช้งาน หรือ P นั้นมีค่าเท่ากับ 20 TONS และ ค่าแรงกระทำโมเมนต์ดัดใช้งาน หรือ M นั้นมีค่าเท่ากับ 6 TONS-M หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบให้บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของผมนั้นไม่เกิด หน่วยแรงเค้นดึง หรือ TENSILE STRESS ขึ้นเลย ผมจะต้องเลือกทำการกำหนดให้ฐานรากตื้นของผมนั้นมี ขนาดของความกว้าง หรือ ระยะ B ไม่น้อยไปกว่าเท่าใดครับ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุดที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นนั้นเกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นในวันนี้เราจะมาทำการวิเคราะห์หากันว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบให้บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของผมนั้นไม่เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย ผมจะต้องเลือกทำการกำหนดให้ฐานรากตื้นของผมนั้นมีขนาดของความกว้างให้มีค่าไม่น้อยไปกว่าเท่าใดไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นเรามาทบทวนกันสักเล็กน้อยกับเนื้อหาที่ผมได้เกริ่นเอาไว้ก่อนหน้านี้ว่า หากเราต้องการที่จะให้สถานะของค่าหน่วยแรงเค้นดึงนั้นเป็นค่าขอบเขตต่ำที่สุดนั่นก็แสดงว่า เราจะต้องให้ค่า qmin นั้นมีค่าเท่ากับศูนย์ ซึ่งเราก็จะสามารถทำการแก้สมการนี้เพื่อที่จะหาว่า ค่าของระยะเยื้องศูนย์มากที่สุดที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของเรานั้นเกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลยจะต้องมีค่าไม่เกิน
e ≤ B / 6 EQ.(1)

ทั้งนี้เราก็ทราบด้วยว่า ค่าของระยะเยื้องศูนย์ หรือค่า e นั้นจะสามารถทำการคำนวณหาออกมาได้จากสัดส่วนระหว่าง ค่าแรงโมเมนต์ดัดที่ส่งผ่านมาจากตอม่อ หารด้วย ค่าแรงกระทำในแนวดิ่งที่ส่งผ่านมาจากตอม่อ ซึ่งสำหรับกรณีนี้ค่า e ก็จะมีค่าเท่ากับ
e = M / P
e = 6×1,000×1,000 / (20×1,000)
e = 6,000 / 20
e = 300 MM EQ.(2)

ดังนั้นหากเราทำการแทนค่า EQ.(2) ลงใน EQ.(1) เราก็จะสามารถทำการแก้สมการหาออกมาได้ว่าขนาดของความกว้างน้อยที่สุดของฐานรากนั้นจะต้องมีค่าไม่น้อยไปกว่า
e ≤ B / 6
300 ≤ B / 6
B ≥ 300×6
B ≥ 1,800 MM

สรุปก็คือ หากผมมีความต้องการที่จะทำการออกแบบให้บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นของผมนั้นไม่เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย ผมจะต้องเลือกทำการกำหนดให้ฐานรากตื้นของผมนั้นมีขนาดของความกว้างไม่น้อยไปกว่า 1,800 MM นั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุดที่จะไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้นนั้นเกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้นเลย
ADMIN JAMES DEAN


Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

ควรตอกเสาเข็มไอไมโครไพล์ให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด!!

posted in: PILE DRIVING

ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด คำตอบอยู่ที่ภูมิสยามค่ะ!!                      เพราะภูมิสยาม!! มีเสาเข็มที่ได้รับมาตรฐาน มอก.

ความสำคัญของเสาเข็ม
เสาเข็มเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของโครงสร้างบ้าน เป็นส่วนประกอบของฐานทั้งหลัง หากว่าเราสร้างบ้านแล้วไม่ได้ลงเสาเข็มไว้ น้ำหนักของตัวบ้านก็จะกดทับผิวดินด้านบนให้ค่อยทรุดตัวลงทีละนิดจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างบ้านได้

เสาเข็มช่วยแก้ปัญหาบ้านทรุดได้ยังไง

เสาเข็มรับน้ำหนักได้อย่างไร? เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักที่กดทับได้ด้วยแรง 2 ชนิดหลักๆ คือ

แรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม (Skin Friction) คือแรงต้านที่เกิดจากแรงเสียดทานระหว่างผิวของเสาเข็มกับดินโดยรอบ ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินและลักษณะของเสาเข็มแต่ละประเภท

แรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) คือแรงต้านที่เกิดขึ้นบริเวณปลายเสาเข็ม ซึ่งแรงนี้เกิดจากดินที่มารองรับที่ปลายเสาเข็ม แรงนี้จะมีปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินเช่นกัน

ตอนเริ่มสร้างบ้าน ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่

ในการสร้างบ้านโดยทั่วไปนั้น เสาเข็มที่รับน้ำหนักตัวโครงสร้างหลักของบ้านควรจะตอกให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็ง (ชั้นดินแข็งในกรุงเทพฯ จะอยู่ที่ความลึกประมาณ 21 เมตร) ซึ่งจะช่วยให้เสาเข็มมีแรงต้านได้ทั้ง 2 แบบ และช่วยป้องกันการหรุดตัวของโครงสร้างบ้านในภายหลัง

ตอนต่อเติมบ้าน ควรลงเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่

การต่อเติมบ้านส่วนใหญ่จะเป็นการต่อเติมบนโครงสร้างเดิม จึงควรให้วิศวกรมาทำการตรวจสอบรากฐานและโครงสร้างเดิมว่าสามารถรับน้ำหนักในการต่อเติมได้หรือไม่ ถ้าหากว่าส่วนที่ต่อเติมเข้าไปมีน้ำหนักมากจนโครงสร้างเดิมไม่สามารถรับน้ำหนักได้ จะต้องมีการลงเสาเข็มเพื่อเสริมตัวโครงสร้างเดิมด้วย เพราะว่าหากไม่เสริมฐานรากเสาเข็ม อาจจะส่งผลให้โครงสร้างเดิมของบ้านเกิดการเสียหาย ซึ่งปัญหาที่จะตามเข้ามาก็คือบ้านร้าว บ้านทรุด และอาจจะบานปลายเป็นปัญหาใหญ่โตจนถึงขั้นต้องรื้อทุบใหม่ทั้งหมดได้

หากบ้านที่ต้องการต่อเติมเป็นกลุ่มบ้านจัดสรรค์ ซึ่งจุดที่ต่อเติมมักจะแคบจนเสาเข็มขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้ามาทำงานได้ หากตอกเสาเข็มไม่ได้ความลึกจนถึงชั้นดินแข็งก็จะเสี่ยงต่อการทรุดตัวในภายหลังอีก จากปัญหาตรงนี้จึงได้มีการออกแบบเสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) ขึ้นมา เพื่อให้สามารถลงเข็มได้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งในบริเวณหน้างานที่แคบแบบนี้ได้

สนใจติดต่อสินค้า เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โทร
☎ 081-634-6586
☎ 082-790-1447
☎ 082-790-1448
☎ 082-790-1449

#ไมโครไพล์ #สปันไมโครไพล์ #เสาเข็มไมโครไพล์ #เสาเข็มสปันไมโครไพล์ #เสาเข็ม #ตอกเสาเข็ม #micropile #spunmicropile #microspunpile #spunpile #microspun

1 10 11 12 13 14 15 16