บทความการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile ไมโครไพล์ Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ หรือเข็มไอ I-Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก และงานสร้างใหม่ ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 ภายใต้การรับรองระบบงานของ UKAS และ NAC และมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม (The Provision of Pile Driving Service)

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม กับงานสร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคงแข็งแรง รับน้ำหนักได้ปลอดภัย

เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม กับงานสร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคงแข็งแรง รับน้ำหนักได้ปลอดภัย

สร้างใหม่เราขอแนะนำ เสาเข็มไอไมโครไพล์ ของภูมิสยาม เป็นเสาเข็มรูปตัวไอ เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ไม่ว่าจะต่อเติม หรือใช้เป็นฐานราก สำหรับโครงสร้างอาคารใหม่

โดยเสาเข็มจะรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด และถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ดังนั้นการตอกเสาเข็มจึงมีความจำเป็นที่จะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง เพื่อช่วยให้เกิดแรงต้าน ชะลอการทรุดตัว และก่อนการตอกเสาเข็ม จะต้องทำการเจาะสำรวจดิน (SOIL BORING TEST) เป็นการขุดดินเพียงเล็กน้อยเพื่อนำมาสำรวจให้ทราบถึงชนิดของดิน เพื่อใช้ในการคำนวณ ออกแบบฐานราก และการเลือกขนาดของเสาเข็ม ให้เหมาะสมกับหน้างาน โดยวิศวกรจะเป็นผู้คิดรายการคำนวณ และออกแบบฐานราก เพื่อให้การรับน้ำหนักเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิศวกรรม และยังสามารถทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มได้ ด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST)

เสาเข็มของภูมิสยามได้รับ มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 ภูมิสยาม ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ ไม่ว่าจะงานต่อเติม เสริมฐานราก หรืองานสร้างใหม่ เรายินดีให้คำปรึกษา และพร้อมบริการทั่วประเทศ ด้วยทีมงานมืออาชีพ


Miss Spunpile 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

โครงสร้างสระว่ายน้ำนี้จะมีสถานะที่ดีและมั่นคงโดยที่จะสามารถตั้งอยู่ได้โดยที่มีเสถียรภาพในแนวดิ่งทั้งในทิศทางลงและทิศทางขึ้นที่ดีเพียงพอ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ
โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องที่ได้มีการไลฟ์สดไปในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ

หากผมต้องการที่จะทำการออกแบบโครงสร้างสระว่ายน้ำชนิดวางตัวอยู่บนดิน ซึ่งเจ้าโครงสร้างสระว่ายน้ำนี้ก็จะฝังตัวจมลงไปอยู่ภายในดินเดิมซึ่งก็จะเห็นได้ว่ามีระดับของน้ำใต้ดินรวมอยู่ด้วยดังในรูป ทั้งนี้หากว่าน้ำหนักในแนวดิ่งในทิศทางลงนั้นประกอบไปด้วยค่าดังต่อไปนี้ (1) น้ำหนักของโครงสร้างเองจะมีค่าเท่ากับ 5 ตัน (2) น้ำหนักของดินที่อยู่ทางด้านข้างจะมีค่าเท่ากับ 3 ตัน (3) น้ำหนักบรรทุกอื่นๆ ที่จะอยู่ที่ด้านบนของโครงสร้างสระว่ายน้ำจะมีค่าเท่ากับ 1 ตัน (4) น้ำหนักของน้ำที่จะถูกบรรจุอยู่ในโครงสร้างสระว่ายน้ำจะมีค่าเท่ากับ 5 ตัน ต่อมาหากน้ำหนักในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นนั้นประกอบไปด้วยค่าดังต่อไปนี้ (5) แรงดันอันเนื่องมาจากระดับน้ำใต้ดินซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 8 ตัน (6) แรงแบกทานสูงสุดที่ดินนั้นจะสามารถที่จะมีได้จะมีค่าเท่ากับ 15 ตัน ผมอยากที่จะขอให้เพื่อนๆ จงช่วยกันทำการตรวจสอบดูว่าโครงสร้างสระว่ายน้ำนี้ว่าจะมีสถานะเป็นอย่างไร จะตั้งอยู่ได้โดยที่มีเสถียรภาพในแนวดิ่งที่ดีเพียงพอ ใช่ หรือ ไม่ ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาเสถียรภาพในแนวดิ่งของโครงสร้างสระว่ายน้ำ
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปรับชมการไลฟ์สดเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นวันนี้เราจะมาช่วยกันหาคำตอบว่าโครงสร้างสระว่ายน้ำนี้จะมีสถานะเป็นอย่างไรและจะสามารถตั้งอยู่ได้โดยที่มีเสถียรภาพในแนวดิ่งที่ดีเพียงพอ ใช่ หรือ ไม่ ไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นผมก็จะทำการคำนวณหาค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางลงมากที่สุดสำหรับกรณีที่ 1 นั่นก็คือ กรณีที่น้ำนั้นมีการบรรจุอยู่เต็มโครงสร้างสระว่ายน้ำ ซึ่งค่าๆ นี้ก็จะมีค่าเท่ากับ
Pv,down,case 1 = 5 + 3 + 1 + 5 = 14 TONS

ต่อมาเราก็จะทำการคำนวณหาค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางลงมากที่สุดสำหรับกรณีที่ 2 นั่นก็คือ กรณีที่ไม่มีน้ำบรรจุอยู่ในโครงสร้างสระว่ายน้ำ ซึ่งค่าๆ นี้ก็จะมีค่าเท่ากับ
Pv,down,case 2 = 5 + 3 + 1 + 0 = 9 TONS

ต่อมาเราก็จะเป็นการคำนวณหาค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นมากที่สุดสำหรับกรณีที่ 1 นั่นก็คือ กรณีที่น้ำนั้นมีการบรรจุอยู่เต็มโครงสร้างสระว่ายน้ำ โดยที่เราก็จะต้องตรวจสอบดูก่อนว่า แรงแบกทานที่ดินนั้นจะต้องรับต้องมีค่าน้อยกว่าค่าแรงแบกทานสูงสุดที่ดินจะสามารถรับได้ ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ
P bearing, case 1 = Pv,down,case 1 – 8
P bearing, case 1 = 14 – 8
P bearing, case 1 = 6 TONS < 15 TONS <<OK>>

ดังนั้นค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นมากที่สุดสำหรับกรณีที่ 1 ก็จะมีค่าเท่ากับ
Pv,up,case 1 = 8 + P bearing, case 1
Pv,up,case 1 = 8 + 6
Pv,up,case 1 = 14 TONS = Pv,down,case 1 = 14 TONS <<OK>>

ซึ่งก็จะเห็นได้ว่าค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นนั้นจะมีค่าเท่ากับค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางลง ดังนั้นก็จะแสดงให้เห็นว่าสำหรับกรณีที่ 1 ตัวโครงสร้างสระว่ายน้ำของเรานั้นจะมีเสถียรภาพต่อแรงแบกทานที่ถือได้ว่าดีเพียงพอและก็ไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่เราจะต้องใส่โครงสร้างเสาเข็มเพิ่มเติมเพื่อที่จะช่วยในการรับ “แรงอัด” ที่เกิดจากค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางลงแต่อย่างใดเลยนะครับ

ต่อมาเราก็จะเป็นการคำนวณหาค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นมากที่สุดสำหรับกรณีที่ 2 นั่นก็คือ กรณีที่น้ำนั้นไม่ได้มีการบรรจุอยู่ภายในโครงสร้างสระว่ายน้ำเลย โดยที่เราก็จะต้องตรวจสอบดูก่อนว่า แรงแบกทานที่ดินนั้นจะต้องรับต้องมีค่าน้อยกว่าค่าแรงแบกทานสูงสุดที่ดินจะสามารถรับได้ ซึ่งก็จะมีค่าเท่ากับ
P bearing, case 2 = Pv,down,case 2 – 8
P bearing, case 2 = 9 – 8
P bearing, case 2 = 1 TONS < 15 TONS <<OK>>

ดังนั้นค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นมากที่สุดสำหรับกรณีที่ 2 ก็จะมีค่าเท่ากับ
Pv,up,case 2 = 8 + P bearing, case 2
Pv,up,case 2 = 8 + 1
Pv,up,case 2 = 9 TONS = Pv,down,case 2 = 9 TONS <<OK>>

ซึ่งก็จะเห็นได้ว่าค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นนั้นจะมีค่าเท่ากับค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางลง ดังนั้นก็จะแสดงให้เห็นว่าสำหรับกรณีที่ 2 ตัวโครงสร้างสระว่ายน้ำของเรานั้นจะมีเสถียรภาพต่อแรงดันของน้ำใต้ดินที่ถือได้ว่าดีเพียงพอและก็ไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่เราจะต้องใส่โครงสร้างเสาเข็มเพิ่มเติมเพื่อที่จะช่วยในการรับ “แรงดึง” ที่เกิดจากค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นแต่อย่างใดเลยนะครับ

ดังนั้นคำตอบสำหรับปัญหาในวันนี้ก็คือ โครงสร้างสระว่ายน้ำนี้จะมีสถานะที่ดีและมั่นคงโดยที่จะสามารถตั้งอยู่ได้โดยที่มีเสถียรภาพในแนวดิ่งทั้งในทิศทางลงและทิศทางขึ้นที่ดีเพียงพอ ทั้งนี้เป็นเพราะผู้ออกแบบได้ทำการพิจารณาและออกแบบให้ค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางลงทุกๆ แรง ยกเว้น น้ำหนักบรรทุกของน้ำ ( Pv,down,case 2 = 9 TONS ) ให้มีค่าที่มากกว่า ค่าน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งในทิศทางขึ้นที่เกิดจากแรงดันอันเนื่องมาจากระดับน้ำใต้ดิน ( Pv,up,case 2 = 8 TONS ) มาเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาเสถียรภาพในแนวดิ่งของโครงสร้างสระว่ายน้ำ
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

SPUN MICRO PILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดเล็ก ขนาดใหญ่

posted in: PILE DRIVING
SPUN MICRO PILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ หรือสร้างอาคารใหม่

เสาเข็มเราเป็นที่นิยมต่อเติม เสริมฐานรากอาคาร เพราะคุณภาพมาตรฐานการผลิต สามารถทำงานในที่แคบได้ ลำเลียงเข้าซอยแคบได้ และตัวเสาเข็ม    มีรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการ ระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด วันนี้มีภาพการเตรียม ต่อเติม มาฝากเพิ่มเติม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย Bhumisiam เหมาะกับงานนี้ เพราะเราพร้อมบริการ สามารถทำงานในที่แคบได้ เข้าซอยแคบเหมาะกับในเมือง ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลนต่อเติมรากฐาน ต่อเติมรากฐาน ต่อเติมรากฐาน

Miss Spunpile

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม มอก. 397-2524 เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

1. สี่เหลี่ยม S18x18 cm.
หรือ 22 cm. แนวทแยง
รับน้ำหนัก 15-20 ตัน/ต้น

2. กลม Dia 21 cm.
รับน้ำหนัก 20-25 ตัน/ต้น

3. กลม Dia 25 cm.
รับน้ำหนัก 25-35 ตัน/ต้น

4. กลม Dia 30 cm.
รับน้ำหนัก 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


ต้องการตอกเสาเข็ม
สปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
081-634-6586☎

Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com🌎

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง – โครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ
หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้พูดถึงเรื่องโครงสร้างๆ หนึ่งในการโพสต์หลายๆ ครั้งของผม ซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมานั้นตัวของผมเองก็ไม่เคยมีโอกาสที่จะได้ทำการขยายความและอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างๆ นี้โดยละเอียดสักที ผมเลยอยากจะขอใช้พื้นที่ในการโพสต์ประจำทุกๆ วันพุธแบบนี้ในการพูดถึงเรื่องของเจ้าโครงสร้างประเภทนี้นั่นก็คือ โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE นั่นเองครับ


โดยที่โพสต์ในวันนี้ผมจะขอเริ่มต้นโดยการพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับประเภทหลักๆ ของ โครงสร้างหลังคาแบบยื่น กันก่อนซึ่งก็จะประกอบไปด้วย
1. โครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นๆ ในการรับแรง
2. โครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึง
3. โครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงอัด

พอเห็นชื่อข้างต้นก็อย่าเพิ่งงงกันไปเพราะจริงๆ แล้วชื่อทั้ง 3 ข้างต้นนั้นถูกจัดเรียงตามประเภทของคุณลักษณะของจุดต่อหรือ BOUNDARY CONDITIONS ของหลังคายื่นและชิ้นส่วนที่จะเข้ามาช่วยในการรับแรง ดังนั้นเรามาเริ่มต้นทำความรู้จักกับหลังคาแบบยื่นประเภทแรกกันเลย
1. โครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นๆ ในการรับแรง ซึ่งก็จะเป็นไปตามรูปที่ 1 โดยที่เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นๆ ในการรับแรงนั้นจะอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพด้วยตัวของโครงสร้างหลังคาเอง โดยที่ไม่จำเป็นที่จะต้องมีชิ้นส่วนใดๆ ในการช่วยเพิ่มเสถียรภาพหรือช่วยรับแรงเพิ่มเติมเลย ดังนั้นจุดต่อของหลังคายื่นชนิดนี้จะมีความต้องการทางด้านคุณลักษณะของจุดต่อขั้นต่ำที่สุดก็คือ เป็นจุดต่อแบบยึดแน่นหรือ RIGID SUPPORT นะครับ
2. โครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึง ซึ่งก็จะเป็นไปตามรูปที่ 2 โดยที่เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึงนั้นจะอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพด้วยตัวชิ้นส่วนโครงสร้างที่จะทำหน้าที่ในการช่วยรับแรงดึงและโดยมากแล้วเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างชิ้นนี้จะถูกติดตั้งให้อยู่ที่ด้านบนของหลังคายื่น ดังนั้นจุดต่อของหลังคายื่นชนิดนี้จะมีความต้องการทางด้านคุณลักษณะของจุดต่อขั้นต่ำที่สุดก็คือ เป็นจุดต่อแบบกึ่งยึดแน่นหรือ SEMI-RIGID SUPPORT นะครับ
3. โครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงอัด ซึ่งก็จะเป็นไปตามรูปที่ 3 โดยที่เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงอัดนั้นจะอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพด้วยตัวชิ้นส่วนโครงสร้างที่จะทำหน้าที่ในการช่วยรับแรงอัดและโดยมากแล้วเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างชิ้นนี้จะถูกติดตั้งให้อยู่ที่ด้านล่างของหลังคายื่น ดังนั้นจุดต่อของหลังคายื่นชนิดนี้จะมีความต้องการทางด้านคุณลักษณะของจุดต่อขั้นต่ำที่สุดก็คือ เป็นจุดต่อแบบอย่างง่ายหรือ SIMPLE SUPPORT นะครับ

หลังจากที่วันนี้เพื่อนๆ ได้ทำความรู้จักกันกับคุณลักษณะต่างๆ ของจุดต่อที่สามารถจะแบ่งออกได้ตามประเภทหลักๆ ของโครงสร้างของหลังคายื่นทั้ง 3 ประเภทข้างต้นกันแล้วในสัปดาห์หน้าผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องของรายละเอียดต่างๆ ของเจ้าดครงสร้างหลังคายื่นแต่ละประเภทนั้นมาขยายความให้แก่เพื่อนๆ ก็แล้วกัน ทั้งนี้ก็เพื่อให้เพื่อนๆ นั้นได้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ที่มากยิ่งขึ้นและหากเพื่อนๆ ท่านใดที่มีความสนใจเนื้อเรื่องเกี่ยวกับหัวข้อๆ นี้เป็นพิเศษ ก็สามารถที่จะติดตามอ่านบทความเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ของผมได้ในการพบกันในครั้งต่อไปของเราได้นะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันพุธ
#ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง
#ความรู้เรื่องโครงสร้างหลังคายื่น
#ครั้งที่1
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

การใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ

สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA เวลาที่ผมจะต้องทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างงานใดๆ ก็ตาม ซึ่งพอผมเจอกับคำถามๆ นี้ผมก็นั่งคิดคำตอบอยู่ครู่หนึ่งเพราะเอาเข้าจริงๆ นั้นเทคนิคเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้มีอยู่มากมายหลากหลายประการมากๆ แต่เอาเป็นว่าในวันนี้ผมขอเริ่มต้นจากเทคนิคๆ หนึ่งซึ่งถือได้ว่าเป็นพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้เลยแต่ก็ต้องขออนุญาตออกตัวไว้ก่อนเลยว่า เทคนิคที่ผมจะนำเอามาฝากนี้เป็นเทคนิคส่วนตัวเพียงเท่านั้น สุดท้ายใครจะจดจำและนำไปใช้ก็สุดแท้แต่วิศวกรแต่ละท่านได้เลยนะครับ

จริงๆ แล้วเทคนิคที่ผมตั้งใจจะนำเอามาอธิบายในวันนี้ก็จะมีความต่อเนื่องมาจากโพสต์ของเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือ การออกคำสั่งในการทำการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล โดยอาศัยซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเม้นต์ ซึ่งหากเพื่อนๆ รับชมคลิปของผมเมื่อในสัปดาห์ที่แล้ว รวมถึงโพสต์ของผมเมื่อวันเสาร์ วันอาทิตย์ รวมถึงวันพุธที่ผ่านมาด้วย เพื่อนๆ น่าที่จะพอเข้าใจแล้วว่าเพราะเหตุใดผมจึงได้ทำการหยิบยกนำเอาประเด็นๆ นี้มาพูดถึงและทำการอธิบายแก่เพื่อนๆ น่ะครับ
คำสั่งนี้มีชื่อว่าคำสั่ง MFACE ซึ่งจะทำการอ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบงานคอนกรีตเสริมเหล็กของประเทศอินเดียหรือ INDIAN CODES หรือที่พวกเรานิยมเรียกกันโดยชื่อย่อว่า IS456 ซึ่งหากเราออกคำสั่งให้ซอฟต์แวร์นั้นทำงานโดยใช้คำสั่งๆ นี้ตัวซอฟต์แวร์ก็จะทำการออกแบบหน้าตัดของเหล็กเสริมหลักที่ทำหน้าที่ในการรับแรงโมเมนต์ดัด ณ ตำแหน่งที่เราเลือกทำการออกแบบโดยใช้คำสั่ง SFACE และ EFACE ซึ่งก็คือหน้าตัดวิกฤติสำหรับคิดคำนวณค่าแรงเฉือนเพื่อนำไปใช้ในการออกแบบหน้าตัดที่บริเวณ “จุดเริ่มต้น” และ “จุดสิ้นสุด” ของชิ้นส่วนนะครับ

ทั้งนี้ให้เพื่อนๆ ทำการเลือก TAB การออกแบบหรือ DESIGN TAB จากนั้นก็ไปเลือกช่อง CURRENT CODE ให้เป็น IS456 จากนั้นก็ทำการเลือกกดปุ่ม DEFINE PARAMETERS เมื่อเพื่อนๆ เลือกคำสั่ง MFACE เสร็จขั้นตอนสุดท้ายก็คือ กดเลือกข้อ (1) เพื่อให้เจ้าซอฟต์แวร์ STAAD.PRO นั้นได้การออกแบบหน้าตัดของเหล็กเสริมหลักที่ทำหน้าที่ในการรับแรงโมเมนต์ดัด ณ ตำแหน่งที่เราได้เลือกทำการออกแบบนั่นเองครับ

ซึ่งตามปกติแล้วหากเป็นสไตล์หรือวิธีการออกแบบโดยส่วนตัวของผมๆ ก็จะออกคำสั่งให้เจ้าซอฟต์แวร์ STAAD.PRO นั้นทำการออกแบบหน้าตัดของโครงสร้างคานออกมาเลยแต่ผมจะไม่ได้เชื่อถือรายละเอียดของเหล็กเสริมซึ่งได้จากการออกแบบโดยซอฟต์แวร์ ผมจะต้องนำเอาข้อมูลที่เป็นแรงภายในหรือ INTERNAL FORCE ต่างๆ ที่ได้จากการทำการวิเคราะห์โครงสร้างนำไปทำการออกแบบด้วยตนเอง ซึ่งจะเป็นการคำนวณบนกระดาษหรือจะทำบนซอฟต์แวร์จำพวก SPREADSHEET ก็แล้วแต่ความสะดวกและชิ้นส่วนโครงสร้างที่ผมต้องการที่จะทำการออกแบบ สุดท้ายผมก็จะนำเอาผลจากการออกแบบที่เจ้าซอฟต์แวร์ STAAD.PRO นั้นให้ออกมานั้นไปเปรียบเทียบกันกับผลจากการคำนวณด้วยตัวของผมเอง ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการตรวจสอบหรือ RECHECK ผลจากการทำงานออกแบบของผมเอง เช่น ผลจากการออกแบบของผมนั้นมีความเหมือนหรือแตกต่างออกไปจากผลที่ได้จากการออกแบบโดยอาศัยซอฟต์แวร์มากหรือน้อยเพียง หรือ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น หรือ คำตอบหรือคำอธิบายของเหตุผลเหล่านั้นคืออะไร เป็นต้น

ซึ่งโดยความคิดเห็นส่วนตัวของผมๆ มองว่า วิศวกรโครงสร้าง หรือ นักออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง ที่ดีนั้น ควรที่จะต้องทำการตั้งคำถามกับงานออกแบบของตัวเองให้มากๆ เช่น เหตุใดพฤติกรรมของโครงสร้างทีได้มาจากการวิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้ซอฟต์แวร์จึงแสดงค่าและผลต่างๆ ออกมาเป็นเช่นนี้ ลักษณะและพฤติกรรมต่างๆ ที่โครงสร้างนั้นแสดงผลออกมานั้นมีความปกติหรือมีความผิดปกติออกไปจากลักษณะหรือพฤติกรรมตามปกติของโครงสร้างใช่หรือไม่ เป็นต้น และสิ่งสำคัญที่สุดก็คือ ควรที่จะสามารถให้คำตอบหรือคำอรรถาธิบายเกี่ยวกับคำถามต่างๆ เหล่านี้ให้ได้ด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเวลาที่โครงสร้างของเรานั้นกำลังดำเนินการก่อสร้างอยู่หรืออาจจะได้ทำการก่อสร้างเสร็จไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วิศวกรผู้ออกแบบควรที่จะทราบได้ว่า หากเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ กับชิ้นส่วนๆ ใดส่วนหนึ่งของโครงสร้างไป จะส่งผลและจะทำให้เกิดผลที่ตามในลักษณะใดบ้างและที่สำคัญก็คือ ควรที่จะมีวิธีในการดำเนินการแก้ไขรายละเอียดต่างๆ ของงานวิศวกรรมโครงสร้างอย่างไรได้บ้างเพื่อให้ผลเสียที่เกดขึ้นนั้นหมดไปหรืออย่างน้อยก็ลดน้อยลงไปให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้นั่นเองครับ

ในการโพสต์ในครั้งหน้าผมจะนำเอาเทคนิคข้อใดมาอธิบายต่อเพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ ก็สามารถที่จะติดตามรับชมและอ่านบทความของผมกันได้ในสัปดาห์หน้านะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์วันศุกร์
#ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้
#เทคนิคในการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ตอบปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ


โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ

จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B และ C ที่แสดงอยู่ในโพสต์ๆ นี้ โครงสร้างหลังคายื่น แบบใดที่จะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนรับแรงดึงเพียงอย่างเดียว หรือ TENSION ONLY STRUCTURAL ELEMENTS บ้างครับ ?
ยังไงเพื่อนๆ ก็อย่าลืมนะครับ กติกาของการร่วมสนุกในเกมๆ นี้คือก่อนที่จะตอบ เพื่อนๆ จะต้องแจ้งอีเมลล์ของเพื่อนๆ ก่อนเสมอนะครับ มิเช่นนั้นผมจะถือว่าผิดกติกานะครับ ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

ตามที่ผมเคยได้แชร์ความรู้ไปก่อนหน้านี้ว่าหากจะทำการจำแนกประเภทหลักๆ ของ โครงสร้างหลังคาแบบยื่นเราก็จะสามารถแบ่งออกได้ตามรูป A ซึ่งจะเป็นโครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นๆ ในการรับแรง รูป B ซึ่งจะเป็นโครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึงและสุดท้ายรูป C ซึ่งจะเป็นโครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงอัด


ซึ่งผมก็ได้ทำการอธิบายต่อไปว่าโครงสร้างหลังคาแบบยื่นทั้ง 3 รูปแบบข้างต้นนั้นจะถูกทำการจัดเรียงและแยกออกตามประเภทของคุณลักษณะของจุดต่อหรือ BOUNDARY CONDITIONS ของหลังคายื่นและชิ้นส่วนที่จะเข้ามาช่วยในการรับแรงซึ่งก็ได้แก่
1. โครงสร้างหลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นๆ ในการรับแรง ซึ่งก็จะเป็นไปตามรูปที่ 1 โดยที่เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หลังคายื่นที่ไม่อาศัยชิ้นส่วนอื่นๆ ในการรับแรงนั้นจะอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพด้วยตัวของโครงสร้างหลังคาเอง โดยที่ไม่จำเป็นที่จะต้องมีชิ้นส่วนใดๆ ในการช่วยเพิ่มเสถียรภาพหรือช่วยรับแรงเพิ่มเติมเลย ดังนั้นจุดต่อของหลังคายื่นชนิดนี้จะมีความต้องการทางด้านคุณลักษณะของจุดต่อขั้นต่ำที่สุดก็คือ เป็นจุดต่อแบบยึดแน่นหรือ RIGID SUPPORT นะครับ
2. โครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึง ซึ่งก็จะเป็นไปตามรูปที่ 2 โดยที่เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึงนั้นจะอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพด้วยตัวชิ้นส่วนโครงสร้างที่จะทำหน้าที่ในการช่วยรับแรงดึงและโดยมากแล้วเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างชิ้นนี้จะถูกติดตั้งให้อยู่ที่ด้านบนของหลังคายื่น ดังนั้นจุดต่อของหลังคายื่นชนิดนี้จะมีความต้องการทางด้านคุณลักษณะของจุดต่อขั้นต่ำที่สุดก็คือ เป็นจุดต่อแบบกึ่งยึดแน่นหรือ SEMI-RIGID SUPPORT นะครับ
3. โครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงอัด ซึ่งก็จะเป็นไปตามรูปที่ 3 โดยที่เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่า หลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงอัดนั้นจะอยู่ได้อย่างมีเสถียรภาพด้วยตัวชิ้นส่วนโครงสร้างที่จะทำหน้าที่ในการช่วยรับแรงอัดและโดยมากแล้วเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างชิ้นนี้จะถูกติดตั้งให้อยู่ที่ด้านล่างของหลังคายื่น ดังนั้นจุดต่อของหลังคายื่นชนิดนี้จะมีความต้องการทางด้านคุณลักษณะของจุดต่อขั้นต่ำที่สุดก็คือ เป็นจุดต่อแบบอย่างง่ายหรือ SIMPLE SUPPORT นะครับ

จากทั้ง 3 ข้อข้างต้น เมื่อพิจารณาถึงคำถามแล้ว ข้อที่ถือได้ว่ามีความใกล้เคียงมากที่สุดก็คือข้อที่ 2 ซึ่งก็คือโครงสร้างหลังคายื่นที่อาศัยชิ้นส่วนในการรับแรงดึงแต่เพราะเหตุใดผมจึงถามลงลึกไปในคำถามว่า โครงสร้างหลังคายื่น แบบใดกันที่จะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนรับแรงดึงเพียงอย่างเดียว ?

นั่นเป็นเพราะลักษณะของชิ้นส่วนที่เป็นชิ้นส่วนโครงสร้างที่จะทำหน้าที่รับแรงดึงเพียงอย่างเดียวจะมีลักษณะเด่นตรงที่ชิ้นส่วนนั้นๆ จะต้องมีขนาดหน้าตัดที่ค่อนข้างจะเล็กมากๆ กล่าวคือ หน้าตัดนั้นๆ แทบที่จะมีค่าความแข็งเกร็งตามแนวแกน หรือ AXIAL STIFFNESS เท่ากับศูนย์ ทำให้การใช้งานชิ้นส่วนในลักษณะแบบนี้จำเป็นที่จะต้องมีแรงตึงภายในชิ้นส่วนของโครงสร้างในระดับหนึ่ง จึงจะทำให้ชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นๆ มีเสถียรภาพและสามารถที่จะนำไปใช้งานได้นะครับ

ดังนั้นพอมาดูทีละรูปๆ เราก็จะสามารถจำแนกได้เลยว่ารูป B ก็คือ โครงสร้างหลังคายื่นที่จะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนรับแรงดึงเพียงอย่างเดียวเพราะเพื่อนๆ จะสามารถเห็นได้ว่า ด้านบนของโครงสร้างหลังคายื่นในรูปนั้นจะมีชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กเส้นซึ่งจะคอยทำหน้าที่ในยึดรั้งโครงสร้างหลังคายื่นเอาไว้และเนื่องด้วยเจ้าชิ้นส่วนโครงสร้างนี้เองมีขนาดหน้าตัดที่ค่อนข้างที่จะเล็กมากๆ ดังนั้นเพียงการมองด้วยตาเปล่าเราก็อาจจะสามารถสรุปได้เลยว่า หน้าตัดของชิ้นส่วนโครงสร้างนี้มีค่าความแข็งเกร็งตามแนวแกนเท่ากับศูนย์ ทำให้การใช้งานชิ้นส่วนเหล็กเส้นนี้จำเป็นที่จะต้องทำให้มีแรงตึงเกิดขึ้นภายในชิ้นส่วนของโครงสร้างด้วย จึงจะทำให้ชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กเส้นนี้มีเสถียรภาพอยู่ได้นั่นเองครับ

หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

ออกแบบโครงสร้างแบบฐานรากลึก เลือกใช้เสาเข็มแบบไหนถึงจะตอบโจทย์

ออกแบบโครงสร้างแบบฐานรากลึก เลือกใช้เสาเข็มแบบไหนถึงจะตอบโจทย์

ปัจจุบันการก่อสร้างนิยมออกแบบกันให้ฐานรากลึก หนึ่งในฐานรากลึกที่ก่อสร้างกันโดยทั่วไป คือ ฐานรากที่มีเสาเข็มเป็นชิ้นส่วนของโครงสร้างฐานรากที่ติดตั้งผ่านชั้นดินที่มีกำลังการรับน้ำหนักต่ำลงไปฝังปลายอยู่ในชั้นดินที่มีกำลังรับน้ำหนักสูง และมีการทรุดตัวน้อย จึงจะเพิ่มขีดความสามารถในการรับน้ำหนักได้สูง ทำให้เสาเข็มในงานงานก่อสร้างยังคงมีการใช้งานกันมาจนถึงปัจจุบัน การก่อสร้างโครงการใหญ่ ๆ เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าต้องใช้เสาเข็มเป็นฐานรากให้โครงสร้างแข็งแรง การลดต้นทุนการก่อสร้างนั้นเป็นสิ่งจำเป็นที่เจ้าของงานอยากให้เกิดขึ้น ดังนั้นควรเลือกใช้เสาเข็มที่ใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย หมุนด้วยความเร็วสูง และได้รับมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549

ภูมิสยามขอแนะนำ "เสาเข็มสปันไมโครไพล์" เสาเข็มมีลักษณะเป็นรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการระบายดิน และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ เพื่อให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแรง นอกจากนี้ยังประหยัดเวลาในการติดตั้ง และสามารถรับน้ำหนักได้ทันที ตอกเสร็จไม่ต้องรอ ก่อสร้างต่อได้เลย ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เราพร้อมให้บริการทั่วประเทศและยินดีให้คำปรึกษาฟรี!!


Miss Nirin 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE)

คุณสมบัติของคอนกรีตที่ใช้ผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

  • หินและทราย: ตรวจสอบ GRADATION ตามข้อกำหนดของมวลรวมผสม มอก.
  • ปูนซิเมนต์ปอร์ตแลนด์: ตามข้อกำหนดของ ASTM DESIGNATION c150 TYPE1 หรือ TYPE3 หรือตามข้อกำหนด มอก. ประเภท1 หรือประเภท3
  • ค่ากำลังอัดประลัยของคอนกรีต (ULTIMATE COMPRESSIVE STRENGTH OF CONCRETE) ของแท่งทรงกระบอกไม่ต่ำกว่า 700 กก. /ซม 2 ตามข้อกำหนด มอก.
  • ค่ากำลังอัดคอนกรีตที่ถ่ายแรงเข้าเนื้อคอนกรีต (COMPRESSIVE STRENGTH OF CONCRETE AT TRANSFER) ของแท่งทรงกระบอกไม่ต่ำกว่า 250 กก./ซม2. ตามข้อกำหนด มอก.

โรงงานของเราผลิตเสาเข็มโดยใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเถท 3 ยี่ห้อ SCG 100%

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติมรายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

ต้องการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์
ปรึกษาทีมงานได้ที่

LINE น้องสปัน
http://line.me/ti/p/~bsp15

LINE น้องจินนี่
http://line.me/ti/p/~0827901447

LINE@BHUMISIAM
https://line.me/R/ti/p/%40bhumisiam

☎ สายด่วนภูมิสยาม:
082-790-1447
082-790-1448
082-790-1449
091-947-8945
081-634-6586

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

เลือกใช้วัสดุที่ทำให้ฐานรากมั่นคง กับการสร้างอาคารใหม่ไม่ให้ทรุดตัว

เลือกใช้วัสดุที่ทำให้ฐานรากมั่นคง กับการสร้างอาคารใหม่ไม่ให้ทรุดตัว

ปัจจุบันการสร้างอาคารใหม่ในประเทศไทย สถาปนิกและวิศวกรส่วนใหญ่จะต้องออกแบบให้โครงสร้างของอาคารมีฐานรากที่แข็งแรง โดยจะต้องคำนวณตั้งแต่ฐานราก คาน เสา แผ่นพื้น ไปจนถึงหลังคา เพื่อให้แน่ใจว่าเสาเข็มที่นำมาเป็นฐานรากสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ไม่มีการทรุดตัวเกิดขึ้น เพราะถ้าหากโครงสร้างทรุดตัวลงอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สามารถรองรับน้ำหนักได้ อาคารที่สร้างขึ้นก็จะเกิดการแตกร้าว เสาเข็มที่เป็นฐานรากก็จะเกิดความเสียหาย ดังนั้นการเลือกใช้เสาเข็มจึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวแนะนำ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ลดความผิดพลาดในการคำนวณการใช้เสาเข็ม ทั้งนี้เสาเข็มต้องผ่านการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ (DYNAMIC LOAD TEST) เป็นวิธีที่นิยมใช้กัน

เราขอแนะนำ "เสาเข็มสปันไมโครไพล์" ที่ผลิตโดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เป็นเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน ซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง จึงได้เสาเข็มที่มีผิวคอนกรีตขัดมันสวยงาม เหมาะสำหรับงานต่อเติมให้ฐานรากมั่นคงแข็งแรง ทั้งนี้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ของเราได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน การออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และอาชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 เราพร้อมให้บริการทั่วประเทศและยินดีให้คำปรึกษาฟรี!!


Miss Nirin 

Bhumisiam (ภูมิสยาม)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service)

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)
1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น
2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)
4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น
5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)
6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น
7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น
8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)


สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447
☎️ 082-790-1448
☎️ 082-790-1449
☎️ 091-9478-945
☎️ 091-8954-269
☎️ 091-8989-561
📲 https://lin.ee/hum1ua2
📥 https://m.me/bhumisiam

การพิจารณาเรื่องดิน มีโอกาสเกิดการทรุดตัวเพิ่มเติมจากปัจจุบันหรือไม่?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน

กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ

โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ

ในรูปที่ 1 2 3 4 และ 5 ที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงผลที่ได้จากการทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST และรูปที่แสดงภาพของการที่พื้นนั้นเกิดการทรุดตัวรอบๆ ตัวอาคารที่ผมได้นำเอามาจากสถานที่ก่อสร้างจริงแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในเขตจังหวัดสมุทรปราการ ประเด็นของปัญหาสำหรับกรณีนี้ก็คือ เจ้าของอาคารนั้นมีความต้องการที่จะทำการซ่อมแซมไม่ให้มีช่องว่างระหว่างพื้นและตัวอาคารอีกต่อไปเพราะมีความกังวลในหลายๆ ประเด็น เช่น กลัวว่าจะมีสัตว์หรือแมลงมีพิษต่างๆ เข้าไปอาศัยอยู่ข้างใต้อาคาร เป็นต้น ในขณะเดียวกันก็มีความกังวลด้วยว่าหากทำการซ่อมแซมไปแล้วพื้นก็ยังคงจะเกิดการทรุดตัวต่อไปไม่สิ้นสุด ซึ่งก็จะทำให้การลงทุนทำการซ่อมแซมในครั้งนี้เปล่าประโยชน์ โดยที่สถานที่ก่อสร้างแห่งนี้มีลักษณะเป็นหมู่บ้านจัดสรรที่ดินจะมีลักษณะของการรับน้ำหนักทั่วๆ ไปเท่านั้นครับ

ดังนั้นคำถามง่ายๆ ในวันนี้ก็คือ หากเพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานแก้ไขเพื่อซ่อมแซมและก่อสร้างในโครงการแห่งนี้ เพื่อนๆ จะให้คำแนะนำต่อเจ้าของอาคารอย่างไรระหว่าง (1) แนะนำเจ้าของอาคารว่า อย่าเพิ่งทำการซ่อมแซมส่วนของอาคารนี้เลยเพราะสุดท้ายดินนั้นยังคงจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวที่ถือได้ว่ายังมีค่าที่มากอยู่ (2) แนะนำเจ้าของอาคารว่า สามารถที่จะทำการซ่อมแซมส่วนของอาคารนี้ได้เลยเพราะพื้นดินนั้นได้เกิดการทรุดตัวที่มากจนได้ที่แล้วและต่อไปดินก็อาจจะเกิดค่าการทรุดตัวได้บ้างแต่ก็จะถือว่าเป็นค่าที่น้อยมากๆ เลย ?

ทั้งนี้เพื่อนๆ ยังสามารถที่จะให้เหตุผลต่างๆ หรือ อาจจะทำการสเก็ตช์ภาพประกอบคำตอบเพื่อใช้อธิบายเพิ่มเติมได้ แล้วยังไงวันพรุ่งนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยคำถามข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบพร้อมๆ กันนะครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำถามในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันเสาร์
#ถามตอบชวนสนุก
#ปัญหาการพิจารณาเรื่องดินนั้นมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวเพิ่มเติมจากปัจจุบันหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN


คำตอบ

เป็นอย่างไรกันบ้างเอ่ย หากเพื่อนๆ ได้มีโอกาสย้อนกลับไปอ่านโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ก่อนๆ ก็จะเห็นได้ว่าคำถามข้อนี้นั้นง่ายมากๆ เลยใช่มั้ย ดังนั้นวันนี้เราจะมาทำการคำนวณหาว่า ในฐานะที่เรานั้นผู้ออกแบบงานแก้ไขเพื่อซ่อมแซมและก่อสร้างในโครงการแห่งนี้เราจะให้คำแนะนำอย่างไรกับทางเจ้าของดี จึงจะทำให้เจ้าของอาคารนั้นสามารถที่จะตัดสินใจได้โดยที่เกิดความคุ้มค่าสูงสุดไปพร้อมๆ กันนะครับ

ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้จากโพสต์ของผมเมื่อสัปดาห์ก่อนกันสักเล็กน้อยนั่นก็คือ ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า หากดินในสถานที่ก่อสร้างของเรานั้นมีลักษณะของการรับน้ำหนักแบบทั่วๆ ไปเท่านั้นและจะไม่เกิดกรณีของดินที่มีคุณสมบัติพิเศษอื่นๆ เราจะสามารถประมาณการออกมาได้ว่า ดินของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดโดยทำการประเมินได้จากผลการทดสอบดินโดยจะสามารถทำการพิจารณาได้จาก
(1) ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน หรือ WATER CONTENT
(2) ค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำ หรือ UNDRAINED SHEAR STRENGTH

เรามาเริ่มต้นกันที่ค่าอัตราส่วนของน้ำในดินกันก่อน ทั้งนี้หลักการในการพิจารณาจากค่าๆ นี้จะทำได้ค่อนข้างง่ายเลยนั่นก็คือ ทำการพิจารณาว่าค่าเฉลี่ยของ ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน ของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นจะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 ใช่หรือไม่ หากว่าคำตอบคือ ใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อย่างรวดเร็วและก็มากด้วยแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 80 แต่ก็ยังมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้อยู่แต่ก็จะค่อยๆ เกิดแบบช้าๆ แบบค่อยเป็นค่อยไป สุดท้ายหากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่น้อยกว่าร้อยละ 50 แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวที่น้อยมากๆ เลยละครับ

นอกจากจะทำการพิจารณาถึง ค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน แล้วเพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย โดยเรามาทบทวนกันกับส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกันกับค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำที่เราอาจจะเรียกแทนว่าค่า Su ก็ได้ ทั้งนี้หากจะทำการสรุปหลักการง่ายๆ ที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินว่าดินในสถานที่ใดสถานที่หนึ่งนั้นจะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใดก็คือ ทำการตรวจสอบจากผลการทดสอบดินของชั้นดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร นั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อนมาก หรือ VERY SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.25 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม หรืออาจจะดีขึ้นมาหน่อยก็คือค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวอ่อน หรือ SOFT CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นจะมีค่าที่มากกว่า 1.25 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2.50 ตัน/ตร.ม ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 2.50 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5.00 ตัน/ตร.ม ใช่หรือไม่ หากว่าใช่ นั่นก็หมายความว่าดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้มากแต่หากว่าดินภายในระดับความลึกดังกล่าวนั้นมีค่าเฉลี่ยมีผลออกมาเป็น ดินเหนียวปานกลาง หรือ MEDIUM CLAY ซึ่งก็คือค่า Su นั้นมีค่าที่มากกว่า 2.5 ตัน/ตร.ม ขึ้นไป ซึ่งหากจะเทียบออกมาเป็นค่า qu ก็ได้ ซึ่งก็จะมีค่า qu ที่มากกว่า 5.00 ตัน/ตร.ม แล้วละก็ ดินก็จะมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวที่ค่อนข้างจะน้อยนั่นเองครับ

ก่อนอื่นเลย ผมเพียงแค่อยากที่จะให้เพื่อนๆ ได้ลองทำการสังเกตข้อมูลลักษณะของชั้นดินให้ดีๆ ก่อนนะว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ?
ถูกต้องแล้ว ชั้นดินในโครงการนี้ค่อนข้างที่จะมีความแปรปรวนสูงมากๆ เช่น ดินชั้นบนเป็นดินทรายแต่ดินชั้นถัดมานั้นกลายเป็นดินเหนียวและดินชั้นถัดไปกลับไปเป็นดินทรายอีกแล้ว เป็นต้น ซึ่งสิ่งที่เราพบได้จากผลการทดสอบดินในโครงการก่อสร้างแห่งนี้จะมีความสอดคล้องกันกับที่ผมได้ไปตรวจสอบประวัติของโครงการก่อสร้างแห่งนี้มาว่า ในอดีตพื้นที่ตรงนี้เคยมีลักษณะเป็นบ่อและบึงเก่ามาก่อน พอเจ้าของโครงการมากว้านซื้อที่ดินเพื่อที่จะทำการก่อสร้างให้พื้นที่ตรงนี้เป็นโครงการหมู่บ้านจัดสรรจึงได้ทำการไล่ถมดินให้เป็นพื้นที่ราบ ผมคาดหมายว่าในขณะนั้นเจ้าของโครงการเองก็มีความหวังดี โดยที่เค้าไม่ต้องการที่จะผู้ที่มาซื้อบ้านในโครงการแห่งนี้ต้องเจอกับสภาพของดินที่เกิดการทรุดตัวที่มาก เค้าจึงมีความต้องการที่จะให้ดินนั้นมีความแน่นตัวจึงตัดสินใจใช้ดินทรายเพื่อนำมาถมแต่คงจะเกิดความผิดพลาดขึ้นในขั้นตอนหนึ่งที่ต้องถือได้ว่ามีความสำคัญมากๆ เลยนั่นก็คือ ขาดขั้นตอนของการบดอัดดินที่ดีเพียงพอเพราะการจะทำการควบคุมงานการบดอัดดินในพื้นที่ๆ มีขนาดใหญ่มากๆ นั้นเป็นเรื่องที่ค่อนข้างที่จะทำได้ยากมาก ยิ่งในอดีตตอนที่เครื่องไม้เครื่องมือนั้นไม่ได้มีความทันสมัยเหมือนในปัจจุบันด้วยก็ยิ่งแล้วใหญ่เลยและทั้งหมดนี้ก็สามารถที่จะอธิบายได้ถึงลักษณะของความแปรปรวนของชั้นดินในสถานที่ก่อสร้างแห่งนี้ครับ

เอาละ สำหรับกรณีที่ดินนั้นมีความแปรปรวนเช่นนี้ผมมีข้อแนะนำในการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดินของชั้นดินโดยแทนที่จะพิจารณาดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร เพียงอย่างเดียว ผมขอแนะนำให้ทำการหาค่าเฉลี่ยของชั้นดินเพิ่มอีก 2 ค่า นั่นก็คือ ดินที่เป็นเฉพาะดินเหนียว และดินทั้งหมดและเลือกพิจารณาใช้ค่ามากที่สุดเป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจ ดังนั้นเรามาดูรูปที่ 6 และ 7 ประกอบการคำนวณนะครับ

ค่าแรก ซึ่งก็จะเริ่มจากดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร เพียงอย่างเดียวก่อนก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Wn = ( 16 + 18 + 15 + 16 + 44 ) / 5
Wn = 21.8%

ค่าที่สอง ดินที่เป็นเฉพาะดินเหนียว ซึ่งก็จะไล่ลงมาตั้งแต่ระดับดินที่ 10 เมตร ลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Wn = ( 62 + 60 + 40 + 25 + 38 + 22 ) / 6
Wn = 41.2%

ค่าที่สามนั่นก็คือ ดินทั้งหมด ซึ่งก็จะเริ่มตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Wn = ( 16 + 18 + 15 + 16 + 44 + 62 + 60 + 40 + 25 + 38 + 22 ) / 11
Wn = 32.36%

ดังนั้นค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนของน้ำที่มีค่าสูงที่สุดของดินจึงมีค่าเท่ากับร้อยละ 41.2 ซึ่งค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเท่ากับร้อยละ 41.2 นั้นถือได้ว่ามีค่าที่น้อยกว่าค่าอัตราส่วนของน้ำในดินร้อยละ 80 ที่ผมได้อธิบายไปแล้วก่อนหน้านี้ ดังนั้นสำหรับการพิจารณาค่าอัตราส่วนของน้ำในดินเราอาจจะสามารถสรุปได้เลยว่า ดินในบริเวณนี้จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้น้อยถึงน้อยมาก แต่ สักครู่นะ อย่างที่ผมได้เรียนไปว่า เพื่อให้เกิดความมั่นใจเพิ่มขึ้นไปอีก เราจึงควรที่จะต้องทำการพิจารณาถึงค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำด้วย ดังนั้นเมื่อเราทำการพิจารณาจากค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดิน ก็ให้เราพิจารณาใช้ค่าเฉลี่ยเหมือนกับที่ทำในกรณีของการคำนวณหาค่าอัตราส่วนของน้ำในดินแต่ครั้งนี้เราจะพิจารณาโดยใช้ค่าที่ต่ำที่สุดแทน

ดังนั้นเรามาดูรูปที่ 6 และ 7 ประกอบการคำนวณนะครับ
ค่าแรก ซึ่งก็จะเริ่มจากดินตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 10 เมตร เพียงอย่างเดียวก่อนก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 3.16 + 4.33 ) / 2
Su = 3.75 T/M^(2)
ค่าที่สอง ดินที่เป็นเฉพาะดินเหนียว ซึ่งก็จะไล่ลงมาตั้งแต่ระดับดินที่ 10 เมตร ลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 1.57 + 1.74 + 2.25 ) / 3
Su = 1.85 T/M^(2)
ค่าที่สามนั่นก็คือ ดินทั้งหมด ซึ่งก็จะเริ่มตั้งแต่ระดับผิวดินลึกลงไปจนถึงที่ระดับดินประมาณ 20 เมตร ก็จะมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่
Su = ( 3.16 + 4.33 + 1.57 + 1.74 + 2.25 ) / 5
Su = 2.61 T/M^(2)

ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ Su ที่มีค่าต่ำที่สุดของดินจึงมีค่าเท่ากับร้อยละ 1.85 T/M^(2) ซึ่งก็จะมีค่าที่มากกว่า 1.25 ตัน/ตร.ม แต่ก็ยังมีค่าน้อยกว่า 2.50 ตัน/ตร.ม แสดงว่าหากอาศัยการตีความสภาพดินแบบเทียบเท่าก็อาจจะสามารถจำแนกได้ว่า ดินนั้นๆ จะมีสภาพเป็น ดินเหนียวอ่อน หรือ SOFT CLAY และนั่นก็หมายความว่า ดินในโครงการก่อสร้างของเรานั้นยังคงมีโอกาสที่จะเกิดค่าการทรุดตัวได้อยู่แต่ก็จะลดลงมามากและก็จะเป็นลักษณะของการทรุดตัวแบบที่ค่อยๆ เกิดขึ้นแบบช้าๆ นะครับ

จะเห็นได้ว่าผลสรุปที่ออกมาจากการพิจารณาค่าหน่วยแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำของชั้นดินดังกล่าวนี้จะออกมามีความขัดแย้งกันกับการพิจารณาจากค่าอัตราส่วนของน้ำในดิน ซึ่งผลจากตารางแสดงลักษณะของชั้นดินในรูปที่ 8 ก็ยังคงแสดงให้เห็นว่า มีชั้น ดินเหนียวอ่อน วางตัวอยู่ในชั้นดินที่เราได้ทำการพิจารณาด้วย ดังนั้นเราก็สามารถที่จะทำการสรุปผลได้ว่า ลูกค้าสามารถที่จะซ่อมแซมปิดช่องว่างใต้อาคารนี้เพื่อป้องกันเหตุอันไม่พึงประสงค์ที่มีความกังวลใจอยู่ได้แต่ก็ควรที่จะเลือกวิธีในการก่อสร้างที่มีความเหมาะสมด้วยเพราะอย่างไรเสียพื้นรอบๆ ตัวอาคารเองก็ยังคงจะมีการทรุดตัวเกิดขึ้นอยู่ได้บ้างแต่ก็จะมีค่าการทรุดตัวที่น้อยมากๆ และจะเป็นการทรุดตัวแบบที่ค่อยๆ เกิดขึ้น เช่น อาจจะก่อสร้างโดยใช้ครีบที่จะห้อยตัวลงมาจาก

โครงสร้าง เป็นต้นครับ
หวังว่าความรู้เล็กๆ น้อยๆ ที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ทุกๆ ท่านจากคำตอบในวันนี้น่าที่จะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านไม่มากก็น้อย และ จนกว่าจะพบกันใหม่นะครับ
#โพสต์ของวันอาทิตย์
#ถามตอบชวนสนุก
#ตอบปัญหาการพิจารณาเรื่องดินนั้นมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวเพิ่มเติมจากปัจจุบันหรือไม่
ADMIN JAMES DEAN


บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile Driving Service และได้รับการรับรอง ISO 9001:2015 ของระบบ UKAS และ NAC รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้รับการรับรองระบบบริหารงานคุณภาพ ตามมาตรฐานในกระบวนการ การออกแบบเสาเข็มสปันไมโครไพล์ การผลิตเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และบริการตอกเสาเข็มเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Design and Manufacturing of Spun Micropile/Micropile and Pile Driving Service) Certified by SGS (Thailand) Ltd.

บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด คือผู้ผลิตรายแรกและรายเดียวในไทย ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ด้านการผลิตเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ และได้รับเครื่องหมาย มาตรฐาน อุตสาหกรรม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile พร้อมรับประกันผลงาน และความเสียหายที่เกิดจากการติดตั้ง 7+ Year Warranty เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงกลาง การระบายดินทำได้ดี เมื่อตอกแล้วแรงสั่นสะเทือนน้อยมาก จึงไม่กระทบโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง ไม่ต้องขนดินทิ้ง ตอกถึงชั้นดินดานได้ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดิน แต่ละพื้นที่ ทดสอบโดย Dynamic Load Test ด้วยคุณภาพและการบริการที่ได้มาตรฐาน เสาเข็มเราจึงเป็นที่นิยมในงานต่อเติม

รายการเสาเข็มภูมิสยาม

เสาเข็มไอ ไมโครไพล์ (I Micropile)

1) I-18 รับนน. 15-20 ตัน/ต้น

2) I-22 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

3) I-26 รับนน. 30-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มสี่เหลี่ยม สปันไมโครไพล์ (Square Spun Micro Pile)

4) S18 รับนน. 18-22 ตัน/ต้น

5) S23 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

เสาเข็มกลม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

6) Dia.21 รับนน. 20-25 ตัน/ต้น

7) Dia.25 รับนน. 25-35 ตัน/ต้น

8) Dia.30 รับนน. 30-50 ตัน/ต้น

(การรับน้ำหนักขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินในแต่ละพื้นที่)

สอบถามเพิ่มเติมได้ 24ชม. ทุกวันค่ะ
☎️ 082-790-1447 (คุณจิน)
☎️ 082-790-1448 (คุณสปัน)
☎️ 082-790-1449 (คุณปุ๊ก)
☎️ 091-9478-945 (คุณสปัน)
☎️ 091-8954-269 (คุณสปัน)
☎️ 091-8989-561 (คุณมาย)
📲 https://lin.ee/hum1ua2
🎥 https://lin.ee/gN4OMZe
📥 https://m.me/bhumisiam

 

🌎 Web:
bhumisiam.com
micro-pile.com
spun-micropile.com
microspunpile.com
bhumisiammicropile.com

1 2 3 4 5 6 16