“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องค่าต่างๆ และวิธีในการจำแนกว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีลักษณะเป็น โครงสร้างเสาที่มีความสั้น หรือ โครงสร้างเสาที่มีความชะลูด ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานให้กับเพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อจากในโพสต์ที่แล้วนะครับ … Read More

การคำนวณหน้าตัดโครงสร้าง ที่ต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดเปรียบเทียบกัน ระหว่างมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกาและฝั่งอังกฤษ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ค่าตัวคูณลดกำลัง หรือ REDUCTION FACTOR ซึ่งก็คือค่า Ø ในมาตรฐานการออกแบบของฝั่งอเมริกา หรือ ACI318 … Read More

ฝากคำถามแล้วเราจะมาตอบให้ สมการในการตรวจสอบตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งผมได้ทำการอธิบายถึงเรื่อง การแก้ไขโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มโดยการเพิ่มจำนวนของโครงสร้างเสาเข็มเข้าไป ซึ่งผมได้อธิบายไว้ว่า หลักการที่ง่ายที่สุดในการเพิ่มคือ ให้ทำการเพิ่มจำนวนของเสาเข็มให้อยู่ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานราก หรือ หากทำเช่นนั้นไม่ได้ก็ให้ทำการตรวจสอบว่าตำแหน่งในการโครงสร้างเสาเข็มนั้นทำให้จุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มให้ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานรากน่ะครับ ซึ่งในวันนั้นผมเองก็ได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไว้ด้วยว่า สมการในการตรวจสอบตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มนั้นก็คือสมการ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม – ระบบโครงสร้างฐานรากรับรั้วที่มีเสถียรภาพทางด้านข้างต่ำ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า … Read More

การใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More